Page 85 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 85
่
่
และปลูกปา พื้นที่เหมาะสมแก่การเกษตรให้กรมปาไม้ สํานักงานปฏิรูปที่ดิน และส่วนราชการ
เกี่ยวข้องจัดทําโครงการใช้ประโยชน์ที่ดินทํากิน
มติคณะรัฐมนตรี 27 ก.ค. 2525 ให้สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ดําเนินการ
กําหนดชั้นคุณภาพลุ่มนํ้าที่สําคัญของประเทศไทย
มติคณะรัฐมนตรี 3 เม.ย. 2527 อนุมัติในหลักการให้กรมที่ดินดําเนินการโครงการพัฒนาที่ดิน
และเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศไทยให้เสร็จภายใน 20 ปี (2528 - 2547)
่
มติคณะรัฐมนตรี 2 มิ.ย. 2530 เห็นชอบหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อม
โทรมตามความเห็นของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
มติคณะรัฐมนตรี 1 ก.ย. 2530 เห็นชอบเรื่อง “นโยบายที่ดิน” ตามที่คณะกรรมการพัฒนา
ชนบทแห่งชาติเสนอ นโยบายดังกล่าวกําหนดเป็น 4 ด้านคือ นโยบายที่ดินเพื่อเศรษฐกิจ นโยบาย
ที่ดินเพื่อสังคม และนโยบายที่ดินเพื่อความมั่นคง และนโยบายชาวเขา
่
มติคณะรัฐมนตรี 12 เม.ย. 2531 เรื่องการขีดแนวเขตปาไม้ลงในระวางรูปถ่ายทางอากาศ
่
มติคณะรัฐมนตรี 17 ม.ค. 2532 มีการประกาศใช้พระราชกําหนดแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ปาไม้
่
่
่
พุทธศักราช 2484 ให้สัมปทานปาไม้สิ้นสุดลงเว้นสัมปทานปาไม้ปาชายเลน
1. กฎหมายป่าไม้
1.1) พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484
่
ปาไม้แต่เดิมอยู่ในความดูแลของเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ เช่นนครเชียงใหม่ นครแพร่ นครน่าน
ในช่วงยุคล่าอาณานิคม ชาวต่างชาติกดดันให้รัฐสยามอนุญาตให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทําไม้ จึงเป็น
่
เหตุให้มีการรวบอํานาจการจัดการปาจากผู้ครองนครมาอยู่ในมือของรัฐบาลส่วนกลางแต่เพียงผู้เดียว
่
และเริ่มการบริหารจัดการปาไม้แบบใหม่ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
่
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้โปรดเกล้าทรงตั้งกรมปาไม้ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2439 และได้ทรงตรา พ.ร.บ.ว่าด้วย
ั
ไม้ซุงและไม้ท่อนเพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการขโมยไม้ที่ตัดฟนแล้วปล่อยให้ลอยหรือล่องลงมาตามลํานํ้า
่
ต่อมามีประกาศรักษาปารัตนโกสินทร์ศก 116 มีสาระสําคัญว่าไม้ขอนสักเป็นบ่อเกิดแห่งทรัพย์สมบัติ
้
่
และความเจริญ ควรจัดการปองกันรักษาไม้ในปาโดยห้ามมิให้การหรือตัดไม้สักที่ยังเล็กอ่อน หรือยัง
ไม่ได้ขนาด ต่อมามีพระราชบัญญัติรักษาต้นไม้สัก ประกาศใช้เมื่อ 1 ธันวาคม รศ. 116 ให้ผู้ที่จะกาน
หรือตัดไม้สักจะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ก่อน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้ทรงตรา “ พระราชบัญญัติ
่
รักษาปาพระพุทธศักราช 2456 ’’ ออกมาบังคับใช้มีสาระสําคัญคือ กําหนดวิธีการทําไม้เพื่อรักษา
่
่
่
พรรณไม้และสภาพของปาไว้โดยมีข้อห้ามมิให้ถางปาดง หรือ ปาดิบทําไร่ข้าวเป็นอันขาด แต่ก็
ั
อนุญาตให้ราษฎรตัดฟนเอาไม้หวงห้ามชนิดที่ 2 (ไม้มีราคามาก) และชนิดที่3 (ไม้ที่ไม่สู้มีราคา) ไปใช้
ในการกุศล ใช้ปลูกสร้างบ้านเรือน ใช้ในการกสิกรรม และใช้ในการจับสัตว์นํ้าได้โดยไม่ต้องเสีย
่
ค่าภาคหลวง ปี พ.ศ. 2484 มี พ.ร.บ.ปาไม้ พุทธศักราช 2484 ออกมาใช้บังคับโดยยกเลิกกฎหมาย
่
่
เกี่ยวกับปาไม้ที่เคยใช้มาก่อนทั้งหมด และมีบทบัญญัติที่สําคัญเกี่ยวกับการทําไม้ การเก็บหาของปา
่
่
การเก็บค่าภาคหลวงไม้และของปา การแปรรูปไม้ และการแผ้วถางปา โดยบทบัญญัติในการทําไม้ใน
่
ปานั้นให้ทําได้ในสองรูปแบบ คือการอนุญาต และสัมปทาน และระหว่างปี พ.ศ. 2515 - 2516 ได้มีการ
่
่
ให้สัมปทานทําไม้สักและไม้กระยาเลยระยะยาว มีกําหนด 30 ปี ในพื้นที่ 301 ปา แต่ปาสัมปทานก็ถูก
5‐13