Page 81 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 81
่
2.3 สภาพการและแนวทางในการจัดการพื้นที่ปาเสื่อมโทรม
่
่
บทบัญญัติว่าด้วยปาเสื่อมโทรมปรากฏตามมาตรา 16 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติปาสงวน
่
่
แห่งชาติ พ.ศ. 2507 ที่บัญญัติว่าในกรณีที่ปาสงวนแห่งชาติทั้งหมดหรือบางส่วนมีสภาพเป็นปาร้างเก่า
่
่
หรือทุ่งหญ้าหรือเป็นปาที่ไม่มีไม่มีค่าขึ้นเลย หรือมีไม้มีค่าที่สมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อยและปานั้น
ยากที่จะกลับคืนดีตามธรรมชาติ ทั้งนี้โดยมีสภาพตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดโดย
่
่
อนุมัติคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าปาสงวนแห่งชาติในบริเวณดังกล่าวเป็นปาเสื่อมโทรม
่
ปาเสื่อมโทรมดังกล่าวนี้ถ้าทางราชการมีความจําเป็นต้องปรับปรุงฟื้นฟูก็ให้ประกาศ
่
กําหนดเขตทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นเขตปรับปรุงสวนปาแห่งชาติ เมื่อมีการประกาศข้างต้นบุคคลที่เข้า
มาทําประโยชน์หรืออาศัยอยู่ในเขตอยู่แล้ว อาจขออนุญาตทําประโยชน์ หรืออาศัยอยู่ได้ แต่ไม่เกิน 20
ไร่ต่อครอบครัว และมีกําหนดเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี ซึ่งบุคคลที่ได้อนุญาตอาจขอปลูก
่
ปาหรือไม้ยืนต้นในที่ดินที่เคยทําประโยชน์หรืออยู่อาศัยเพิ่มเติมจากที่ได้รับอนุญาตแล้ว ถ้าพิสูจน์ได้
ว่ามีความสามารถ และมีเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ซึ่งอธิบดีมีอํานาจอนุญาตได้ แต่ต้องไม่เกิน 35 ไร่/
ครอบครัว และระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีแต่ไม่เกิน 30 ปี
่
ต่อมาได้มีการพิจารณากําหนดหลักเกณฑ์และเงือนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม และ
่
มาตรการใช้ที่ดินในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ มิถุนายน 2530 และ 9 พฤษภาคม
2532 ดังนี้
่
่
ก. พื้นที่ปาสงวนแห่งชาติที่ถือว่าเป็นปาเสื่อมโทรม ต้องมีสภาพตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
่
่
1. เป็นปาไม้ที่มีไม้มีค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อยและปานั้นยากที่จะกลับฟื้น
คืนดีได้ตามธรรมชาติ โดยมีไม้ขนาดความโตจัดโดยรอบลําต้นตรงที่สูง 130 ซ.ม. ตั้งแต่ 50 - 100 ซ.
ม. ขึ้นกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ตัน หรือไม้มีขนาดความโตเกิน 100 ซ.ม.ขึ้นไปขึ้นกระจายตัว
อยู่ทั่วพื้นไม่เกินไร่ละ 2 ต้น
2. การสํารวจพื้นที่ตามข้อ 1 ให้ดําเนินการดังนี้
2.1 ในกรณีที่พื้นที่ขออนุญาตมีพื้นที่มากกว่า 500 ไร่ ควรมีการตรวจสอบภาพถ่ายทาง
อากาศหรือภาพถ่ายดาวเทียม มาตราส่วนที่เหมาะสมซึ่งสามารถตรวจสอบได้ที่ถ่ายใหม่ที่สุดเพื่อ
่
่
ประเมินสภาพปาโดยทั่วไปหากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณ์ให้กันออก
2.2 ให้สํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอย่าง Line Plot ให้กระจายทั่วพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
่
ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไม้ขนาดต่าง ๆ ในการประเมินไม้ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาผืนใหญ่
่
เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ควรใช้ค่าเฉลี่ยต่อพื้นที่ปาในแต่ละแปลงที่สํารวจ
่
ข. มาตรการการใช้ที่ดินในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม
่
1. ในกรณีปาเสื่อมโทรมนั้นอยู่ในพื้นที่ต้นนํ้าธาร ชั้น 1เอ 1บี และชั้นที่ 2 แม้จะมีต้นไม้
่
น้อยเพียงใดก็ตาม ก็มิให้กําหนดเป็นปาเสื่อมโทรม
่
่
2. ในการกําหนดให้พื้นที่ใดเป็นปาเสื่อมโทรม ตาม พ.ร.บ.ปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
่
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ปาสงวนแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 นั้น ไม่มีผลผูกพันในการที่จะให้
5‐9