Page 82 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 82
่
ราษฎรเข้าไปทําประโยชน์ตลอดไปสําหรับราษฎรซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไว้ในระเบียบกรมปาไม้
่
ว่าด้วยหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการอนุญาตให้ทําประโยชน์ และอยู่อาศัยในเขตปรับปรุงปาสงวนแห่งชาติ
ป่าชายเลน
่
่
การจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ปาชายเลนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2524 เมื่อพบว่าปาชายเลน
่
ลดลงอย่างรวดเร็ว ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2518 - 2522 มีการจัดตั้งคณะกรรมการทรัพยากรปาชาย
เลนแห่งชาติขึ้นมาดูแล และได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เห็นชอบกับ
่
หลักเกณฑ์และมาตรการในการพิจารณากําหนดเขตการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ปาชายเลน ดังนี้
่
1. แนวทางในการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินปาชายเลนของประเทศไทย กําหนดเป็น 3
เขตดังนี้
่
1.1 เขตอนุรักษ์ หมายถึงพื้นที่ปาชายเลนที่หวงห้ามมิให้มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ นอกจาก
จะปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ เพื่อรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศได้แก่
1.1.1 พื้นที่แหล่งรักษาพันธุ์พืช และสัตว์นํ้าที่มีค่าทางเศรษฐกิจ
1.1.2 พื้นที่แหล่งเพาะพันธุ์พืช และสัตว์นํ้า
1.1.3 พื้นที่ที่ง่ายต่อการถูกทําลาย และการพังทลายของดิน ได้แก่หาดทราย สัน
ทราย หาดเลน เลนงอก และทรายงอก
1.1.4 พื้นที่ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี
1.1.5 สถานที่ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น
่
1.1.6 เขตอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน แหล่งท่องเที่ยว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาและ
เขตห้ามล่า
้
1.1.7 พื้นที่ที่ควรสงวนไว้เพื่อเป็นแนวปองกันลม คลื่น และกระแสนํ้า
1.1.8 พื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อการสงวนไว้ เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาวิจัย
่
1.1.9 พื้นที่ปาที่สมควรสงวนไว้เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศ
ั่
1.1.10 พื้นที่ที่อยู่ห่างไม่น้อยกว่า 20 เมตร จากริมฝงแม่นํ้าลําคลองธรรมชาติ และ
ั่
ไม่น้อยกว่า 75 เมตร จากชายฝงทะแล
1.2 เขตเศรษฐกิจ แบ่งออกได้ดังนี้
่
1.2.1 เขตเศรษฐกิจ ก. หมายถึงพื้นที่ปาชายเลนที่ยอมให้ใช้ประโยชน์เฉพาะใน
่
่
่
่
กิจการด้านปาไม้เพื่อผลผลิตที่สมํ่าเสมอตามหลักวิชาการปาไม้ ได้แก่พื้นที่ปาสัมปทาน พื้นที่ปาชาย
่
่
่
เลนนอกสัมปทานที่เหมาะสมแก่การอนุรักษ์ เพื่อเป็นปาชุมชน และพื้นที่สวนปาเพื่อผลผลิตด้านปาไม้
ของรัฐบาลและเอกชน
่
1.2.2 เขตเศรษฐกิจ ข. หมายถึงพื้นที่ปาชายเลนที่ยอมรับให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
และการพัฒนาด้านอื่น ๆ ได้ แต่ต้องคํานึงถึงผลดีและผลเสียด้านสิ่งแวดล้อมด้วยพื้นที่ลักษณะนี้ได้แก่
(1) พื้นที่เกษตรกรรมเพื่อการกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์การประมงและการทํานาเกลือ
(2) พื้นที่อุตสาหกรรมเพื่อการทําเหมืองแร่และการสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
(3) พื้นที่ที่เป็นแหล่งชุมชน
5‐10