Page 86 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 86

ั
                       ตัดฟนไม้เกือบหมดทุกแห่งในช่วงเวลา 15 - 16 ปีเท่านั้น เหตุการณ์อุทกภัยที่บ้านกระทูน อําเภอพิปูน
                       จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปลายปี 2531 ส่งผลให้รัฐบาลซึ่งมีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็น
                                                                         ่
                       นายกรัฐมนตรี ได้ออกพระราชกําหนดยกเลิกสัมปทานทําไม้ปาบกทั้งหมด
                                             ่
                              พระราชบัญญัติปาไม้ พุทธศักราช 2484      ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมต่อมาอีกหลายครั้ง
                                                                                                         ่
                              สาระสําคัญเกี่ยวกับที่ดินทํากินก็คือ มาตรา 54 ซึ่งห้ามมิให้ผู้ใดก่อสร้าง แผ้วถาง หรือเผาปา
                                                                                            ่
                                                               ่
                                                                                       ่
                       หรือกระทําด้วยประการใด ๆ อันเป็นการทําลายปา หรือเข้ายึดถือครอบครองปาหากฝาฝืนมีโทษทั้งจํา
                                                                           ่
                       ทั้งปรับ บทบัญญัตินี้ไม่เปิดโอกาสให้ราษฎรได้เข้าบุกร้างถางปาเพื่อเอาที่ดินทํากินได้อย่างเสรีดังที่
                       เคยมีมาแต่ในสมัยโบราณ แต่ก็ไม่สามารถยับยั้งการกระทําของราษฎรดังกล่าวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                       ช่วงพืชเศรษฐกิจ เช่น มันสําปะหลัง และข้าวโพดมีราคาดีในช่วงเร่งรัดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เป็น
                              ่
                                                                                                      ่
                       เหตุให้ปาไม้เปลี่ยนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงได้ออกกฎหมายเพื่ออนุรักษ์ปาไม้
                                           ่
                                                                                         ่
                       และควบคุมการทําลายปาไม้อีก 3 ฉบับ คือ (1) พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ปา  พ.ศ. 2503  (2)
                                                               ่
                                                                                                         ่
                       พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (3) พ.ร.บ. ปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 โดยมาตรา 4 พ.ร.บ.ปา
                                                      ่
                       ไม้ พุทธศักราช 2484 ได้นิยามว่า “ปา” หมายความว่า ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดิน
                                                                                          ่
                       ทําให้ที่ดินของราษฎรและชุมชนจํานวนมากที่ไม่มีกฎหมายรองรับกลายเป็นพื้นที่ปาตามกฎหมาย
                              สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่
                              มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
                                   ่
                              (1) "ปา" หมายความว่า ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดิน

                              (2) "ไม้"  หมายความว่า ไม้สักและไม้อื่นทุกชนิดที่เป็นต้น เป็นกอ เป็นเถา รวมตลอดถึงไม้ที่
                                                                                ่
                       นําเข้ามาในราชอาณาจักร ไม้ไผ่ทุกชนิด ปาล์ม หวาย ตลอดจนราก ปุม ตอ เศษ ปลาย และกิ่งของสิ่ง
                       นั้น ๆ ไม่ว่าจะถูกตัดทอน เลื่อย ผ่า ถาก ขุด หรือกระทําโดยประการอื่นใด

                              (3)"แปรรูป" หมายความว่า การกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ไม้ ดังนี้ คือ
                                 ก.  เลื่อย ผ่า ถาก ขุด หรือกระทําด้วยประการอื่นใดแก่ไม้ให้เปลี่ยนรูปหรือขนาดไปจาก
                       เดิม นอกจากการลอกเปลือกหรือตบแต่งอันจําเป็นแก่การชักลาก

                                 ข.  เผา อบ บด หรือกระทําด้วยประการอื่นใดแก่ไม้ ให้เปลี่ยนแปรสภาพไปจากเดิม เพื่อ
                       ถือเอาวัตถุธาตุหรือผลพลอยได้จากไม้นั้น
                              (4) "ไม้แปรรูป"  หมายความว่า ไม้ที่ได้แปรรูปแล้วและหมายความรวมถึงไม้ที่อยู่ในสภาพ
                       พรางว่าเป็นสิ่งปลูกสร้าง หรืออยู่ในสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้างอันไม่ชอบด้วยลักษณะสิ่งปลูกสร้างทั่ว ๆ

                       ไป หรือที่ผิดปกติวิสัย หรืออยู่ในสภาพเป็นเครื่องใช้ที่ไม่ชอบด้วยลักษณะของเครื่องใช้ที่ใช้เป็นปกติใน
                       ท้องที่นั้นหรือที่ผิดปกติวิสัย

                              ไม้ที่อยู่ในสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้างหรืออยู่ในสภาพเป็นเครื่องใช้ ทั้งนี้ตลอดเวลาที่อยู่ในสภาพ
                       เช่นนั้น รวมทั้งไม้ที่เคยอยู่ในสภาพดังกล่าวและผู้ครอบครองพิสูจน์ได้ว่าได้เคยมีสภาพเช่นนั้นมาแล้ว
                       ไม่น้อยกว่าสองปีสําหรับไม้อื่นที่มิใช่ไม้สัก และห้าปีสําหรับไม้สัก มิให้ถือว่าเป็นไม้แปรรูป
                                                                                                         ่
                                                           ั

                              (5) "ทําไม้"  หมายความว่า ตัด ฟน กาน โค่น ลิด เลื่อย ผ่า ถาก ทอน ขุด ชักลากไม้ในปา
                                       ่
                       หรือนําไม้ออกจากปาด้วยประการใด ๆ และหมายความรวมถึงการกระทําดังกล่าวกับไม้สักหรือ
                                      ่
                                                                             ่
                              (7) "ของปา" หมายความว่า บรรดาของที่เกิดหรือมีขึ้นในปาตามธรรมชาติคือ
                                                                                                      5‐14
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91