Page 80 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 80
่
(2.1) รัฐจะดําเนินการจําแนกพื้นที่ปาไม้เศรษฐกิจที่ถูกบุกรุกและมีสภาพเสื่อมโทรมออก
่
่
จากพื้นที่ปาที่มีสภาพอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่มีความเหมาะสมในการทําเกษตร สนับสนุน
่
่
ให้เอกชนทําการเกษตรควบคู่กับการปลูกปา สําหรับพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่ไม่เหมาะสมกับการทํา
่
่
เกษตร สนับสนุนให้เอกชนทําการปลูกปา ทั้งนี้เพื่อเป็นการปรับสภาพดินเพื่อเป็นการทดแทนปาเสื่อม
โทรมและเพื่อเสริมรายได้
(2.2) สนับสนุนและส่งเสริมบทบาทเอกชนและประชาชนในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมในการ
่
บริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรปาไม้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพ และประหยัด โดย
่
เน้นให้มีการปลูกปา 3 ประเภท คือ
่
ก. การปลูกปาไม้โตเร็วและสวนผลไม้ มีหลักเกณฑ์การสนับสนุนพิจารณาโดย
พิจารณาความเหมาะสม 2 ประการคือ พันธุ์ไม้และพื้นที่ปลูก กล่าวคือจะต้องเป็นพันธุ์ไม้และพืช
เศรษฐกิจ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด อย่างแท้จริง และเป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์ดินและ
นํ้า สําหรับพื้นที่ปลูกจะต้องคํานึงถึงความเหมาะสมของดิน และการนําไปใช้ประโยชน์ในแต่ละพื้นที่
ข. การปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ สนับสนุนให้มีการปลูกไม้สักทั้งภาคเอกชนและ
ภาครัฐบาล เพื่อให้ประเทศรักษาสภาพความเป็นผู้นําในการส่งออกไม้คุณภาพดีได้ต่อไป
่
ค. การปลูกปาชุมชน สนับสนุนองค์กรประชาชนในระดับท้องถิ่นให้ร่วมมือกันปลูก
่
ั
่
ปาและแบ่งปนผลประโยชน์ที่ได้รับจากการปลูกปาโดยเน้นพันธุ์ไม้อเนกประสงค์รวมทั้งมีการสนับสนุน
ให้มีการใช้ประโยชน์จากไม้อย่างประหยัด
่
2. การจัดการพื้นที่ปาไม้
่
2.1 การจัดการที่ดินในปาเศรษฐกิจ
่
่
่
ปาเศรษฐกิจ หมายถึง ปาที่สามารถใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ ซึ่งตามนโยบายปาไม้
่
่
แห่งชาติได้กําหนดให้มีพื้นที่ปาประเภทนี้ ร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ การจัดการที่ดินในปา
่
่
เศรษฐกิจ นอกจากจะเป็นการอนุญาตให้ทําไม้และเก็บหาของปาแล้ว ยังเป็นการให้ปลูกสร้างสวนปา
่
่
่
ตามเงื่อนไขสัมปทานปาไม้และปลูกสร้างสวนปาในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม แต่การทําไม้ออกสัมปทานได้
่
ถูกยกเลิกไปตามพระราชกําหนดแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ปาไม้ 2484 พ.ศ. 2530 เพิ่มเติมหมวด 6 ทวิ
ั
่
การสั่งแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัมปทานและการสิ้นสุดของสัมปทาน ดังนั้นในปจจุบัน การจัดการที่ดินในปา
่
่
่
เศรษฐกิจจึงคงมีแต่การเก็บหาของปาและการปลูกสร้างสวนปาในพื้นที่เสื่อมโทรมตามระเบียบกรมปา
่
่
่
ไม้ว่าด้วยการอนุญาตเก็บหาของปาภายในเขตปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2529 ระเบียบกรมปาไม้ว่าด้วย
่
่
การอนุญาตให้ทําการปลูกสร้างสวนปา หรือปลูกไม้ยืนต้นภายในเขตปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2530 และ
่
ระเบียบกระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการจ้างทําการปลูกปาและบํารุงรักษา พ.ศ. 2530
2.2 การจัดการที่ดินในเขตอนุรักษ์
่
่
ปาอนุรักษ์ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาและเขตอนุรักษ์อื่น ๆ
้
ทางการปองกันสิ่งแวดล้อม และการจัดการที่ดินในเขตอนุรักษ์ต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นไปตามกฎหมาย
และระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการนั้นเช่นการจัดการเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติก็ดําเนินตามมา พ.ร.บ.
่
อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 หรือเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ปาก็ต้องดําเนินตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครอง
่
สัตว์ปาเป็นต้น
5‐8