Page 233 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 233

์
                              พ.ศ. 2537 ที่ประชุมสภาตําบล โดยกํานันบ่อนอกประธานสภาฯ เห็นชอบให้บริษัทกัลฟ พาวเวอร์
                                                     ้
                       เจนเนอเรชั่น เจ้าของโครงการโรงไฟฟาถ่านหินบ่อนอก ใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์เต็มพื้นที่
                       ประมาณ 931 ไร่ ให้เหตุผลว่าจะทําให้เกิดการจ้างงาน กระจายรายได้ในท้องถิ่น พ.ศ. 2539 ที่ประชุม
                                                                                                        ์
                       คณะกรรมการจังหวัดมีมติเห็นชอบการใช้ประโยชน์ที่ดินสาธารณประโยชน์ตามข้อเสนอบริษัทกัลฟฯ
                       9 - 3 - 68 ไร่ ไม่เต็มพื้นที่เนื่องบริษัทฯ ปรับเปลี่ยนแผนการดําเนินงาน
                              30 กันยายน พ.ศ. 2539 ผู้ว่าราชการจังหวัดลงนามในใบอนุญาตตามความประมวลกฎหมายที่ดิน

                       มาตรา 9 กําหนดเวลาอนุญาต 5 ปี
                              พ.ศ. 2546 มีผู้นําแบบแจ้งการครอบครองที่ดิน ส.ค.1 มาขอรังวัดออกโฉนดที่ดิน สํานักงาน
                       ที่ดินจังหวัดพิจารณาแล้วเห็นว่ารูปแผนที่ต่างจากเดิมมาก โดยรูปแผนที่และตําแหน่งที่ดินอยู่ในที่ดิน

                       สาธารณประโยชน์ นําเรื่องเสนอจังหวัด
                                                                                  ้
                              21 มิถุนายน 2547 นายเจริญฯ แกนนําต่อต้านการสร้างโรงไฟฟาบ่อนอกถูกฆาตกรรม มีการ
                                      ่
                                            ั
                       วิจารณ์จากหลายฝายถึงปญหาเกี่ยวข้องกับที่สาธารณประโยชน์
                                                                                          ั
                              พ.ศ. 2546 จังหวัดมีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกันออกตรวจพิสูจน์ที่ดินปญหา คณะกรรมการฯ
                                                                                                      ั
                       สรุปมีความเห็นเป็นที่สาธารณประโยชน์เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะอนุกรรมการแก้ไขปญหา
                       การบุกรุกที่ดินของรัฐระดับจังหวัดเป็นผู้พิจารณา ระหว่างที่ยังไม่มีการเรียกประชุมคณะอนุกรรมการ
                             ั
                       แก้ไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐระดับจังหวัด สํานักงานที่ดินจังหวัดออกประกาศแจกโฉนดที่ดิน
                       แปลงดังกล่าว
                              พ.ศ. 2547 กํานันบ่อนอกยื่นหนังสือคัดค้านการออกประกาศแจกโฉนดที่ดินแปลงดังกล่าวต่อ

                       สํานักงานที่ดินจังหวัด โดยให้เหตุผลว่าเป็นการออกโฉนดที่ดินในที่สาธารณประโยชน์ และแจ้งความ
                       ไว้ที่สถานีตํารวจภูธรอําเภอ
                                                          ่
                              20 กรกฎาคม 2547 กองตํารวจปาไม้ทําหนังสือให้องค์การบริการส่วนตําบลดําเนินการแจ้ง
                       ความร้องทุกข์ ต่อผู้บุกรุก เพื่อดําเนินการตามกฎหมาย
                              21 กรกฎาคม 2547 องค์การบริหารส่วนตําบลจึงร้องทุกข์กล่าวโทษกับผู้บุกรุก”
                              “ที่สาธารณประโยชน์ทุ่งสะพานยาวและโคกขี้เตรย จังหวัดสงขลา : ที่ดินสาธารณประโยชน์

                       ทั้งสองแปลงมีการรังวัดแนวเขต ปี 2525 และออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง ปี 2538 เนื้อที่รวม
                       2,444 ไร่ 2 งาน
                              พ.ศ. 2530 ชาวบ้านที่เข้าทําประโยชน์เดิมสละการครอบครองทําประโยชน์ เหตุเพราะ

                       นายทุนทั้งในพื้นที่บุกรุกปลูกยางพารา 700 ไร่และนอกพื้นที่บุกรุกปลูกปาล์มนํ้ามันประมาณ 1,000 ไร่
                       (ประวัติการบุกรุกที่สาธารณะทั้งสองแปลง 3 ช่วงเริ่มจากปี พ.ศ. 2520 - 2522 นายทุนชาวมาเลเซีย

                       ไถปลูกปาล์มนํ้ามัน, ปี 2538 - 2549 บริษัทสัญชาติไทยปลูกปาล์มนํ้ามัน และปี 2548 - 2549 บริษัทฯ
                       รังวัดแบ่งแปลงที่ดินสาธารณะขายแก่บุคคลอื่นรวม 3 ราย) ส่วนที่เหลืออีกประมาณ 700 ไร่ ชาวบ้าน
                                                                                                 ั
                       ครอบครองทําประโยชน์ก่อนรังวัดแนวเขตพื้นที่สาธารณประโยชน์และปลูกยางพาราจนถึงปจจุบัน






                                                                                                      6‐24
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238