Page 121 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 121
นอกจากนั้นยังมีมติคณะรัฐมนตรีอีกหลายเรื่องที่เกี่ยวข้อง อาทิ
มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 16 กันยายน 2540 และวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่องการสํารวจการถือ
ครองที่ดิน และมติคณะรัฐมนตรี 24 เมษายน 2550
่
ั
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 11 พฤษภาคม 2542 มีมติเกี่ยวกับปญหาที่ดินและปาไม้ ให้มีการ
พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินและทําประโยชน์ในพื้นที่ขัดแย้งดังกล่าว และระหว่างการพิสูจน์สิทธิ ให้
่
มีการคุ้มครองสิทธิชั่วคราวแก่ชาวบ้านปากลางที่ทํากินอยู่ในพื้นที่
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 เกี่ยวกับแนวทางการก่อสร้างถนนในพื้นที่
่
อุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา
่
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 เกี่ยวกับกําหนดพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ์
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 13 กรกฎาคม 2531 เกี่ยวกับกําหนดพื้นที่คุณภาพลุ่มนํ้า
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2546 อนุมัติให้องค์การสวนยางได้รับอนุญาตให้เข้า
่
่
ทําประโยชน์ในพื้นที่สวนยางของเกษตรกรในเขตปาสงวนแห่งชาติ หรือปาที่มีมติคณะรัฐมนตรีให้
่
รักษาไว้เป็นปาสงวนแห่งชาติ และนํามาจัดสรรให้เกษตรกรตามกฎเกณฑ์เงื่อนไข
่
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 15 ธันวาคม 2530 กําหนดให้ปาชายเลนที่เป็นเขตอนุรักษ์ ห้ามใช้
ประโยชน์ใด ๆ ทั้งสิ้น โดยหากต้องการใช้ประโยชน์ต่อขออนุมัติคณะรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะราย
่
เพื่อให้ยกเลิกเขตปาสงวนแห่งชาติ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ประโยชน์โดยหน่วยงานรัฐหรือเอกชน
5.4 ลักษณะปัญหาการละเมิดสิทธิ
แม้ว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวดที่ 3 ส่วนที่ 12 สิทธิชุมชน
มาตรา 65 และ 66 และหมวด 5 ว่าด้วยแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนที่ 8 แนวนโยบายด้านที่ดิน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรา 84 ล้วนเป็นแนวนโยบายซึ่งแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยให้
ความสําคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น และเป็น
่
ส่วนส่งเสริมและสนับสนุนในการพัฒนานโยบายปาไม้ให้เป็นนโยบายสาธารณะได้ หากแต่ในความเป็น
จริงนั้น แม้จะมีการรับรองสิทธิชุมชนเอาไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่ฉบับปี พ.ศ.
2540 ต่อเนื่องมาถึงฉบับปี พ.ศ. 2550 ก็ตาม แต่เนื่องจากกฎหมายเฉพาะหลายฉบับที่บทบัญญัติส่วน
ใหญ่ไม่ได้รับรองสิทธิชุมชนเอาไว้อย่างแจ้งชัดและยังมีลักษณะที่ไม่เอื้ออํานวยต่อการใช้สิทธิของ
่
ชุมชนนั้นได้ถูกกําหนดขึ้นมาอยู่ก่อนหน้านี้แล้ว โดยเฉพาะกฎหมายว่าด้วยปาไม้ เช่น พระราชบัญญัติ
่
่
ปาไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ.
่
2507 และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นตัวบทกฎหมายหลักเพื่อใช้ใน
่
การจัดการทรัพยากรปาไม้ของประเทศ อีกทั้งทัศนคติของเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกพัฒนามาจากแนวคิดการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบแยกส่วน แยกคนออกจากธรรมชาติ ไม่รับรู้จารีตประเพณีวัฒนธรรม
่
การอยู่กับปาพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ดังนั้น แม้ในบทบัญญัติของกฎหมายต่าง ๆ เหล่านั้นจะมีบาง
มาตราที่เปิดช่องให้ชุมชนสามารถจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติได้ เช่นมาตรา 20 ของ
่
พ.ร.บ.ปาสงวนแห่งชาติ แต่การใช้และการตีความกฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐในช่วงเวลาที่ผ่านมาก็ยัง
่
่
ยึดแต่สิทธิของรัฐและเอกชนไม่ยอมรับสิทธิชุมชน ดังกรณีการส่งเสริมปาชุมชนของกรมปาไม้ก็ยังต้อง
5‐49