Page 122 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 122
่
ให้ชุมชนขออนุญาตจัดการใช้ประโยชน์จากปาในนามพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐ ส่วนกรณีที่มีความ
่
ขัดแย้งเช่นการตั้งถิ่นฐานในเขตปา การทําไร่หมุนเวียนเจ้าหน้าที่รัฐยังคงบังคับใช้กฎหมายในส่วนที่ไม่
เอื้ออํานวยต่อการใช้สิทธิของชุมชน
ั
่
การวิเคราะห์ปญหาจากบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการปาไม้พบว่า แนวคิดที่ไม่ยอมรับ
การใช้สิทธิของชุมชนและแนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของรัฐข้างต้นเป็นพื้นฐานที่รัฐใช้ใน
ั
่
การกําหนดกฎหมายว่าด้วยการปาไม้ที่มีผลใช้บังคับต่อชุมชนในพื้นที่นั้น มีปญหาในเชิงประเด็นที่
่
ส่งผลกระทบต่อสิทธิของชุมชนในการจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้ อยู่ 3 ประการ กล่าวคือ
่
ั
(1) ปญหาจากการนิยามและกําหนดพื้นที่ปา (เนื้อหากฎหมาย) โดยบทบัญญัติของกฎหมาย
่
่
ปาไม้ต่างนิยามพื้นที่ “ปา” ในความหมายเดียวกันคือ “ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลใดได้มาโดยชอบด้วย
ั
่
กฎหมาย” นิยามพื้นที่ปาลักษณะนี้ทําให้เกิดปญหากับชุมชนเพราะแม้ชุมชนจะมีหลักฐานการ
ั
่
่
ครอบครองที่ดินมาก่อนการประกาศเขตปาและมีหลักฐานที่พิสูจน์ได้เช่นปาช้าที่ฝงศพ ต้นไม้ใหญ่
หรือหลักฐานอื่นที่ชัดเจนเพียงใด แต่หากไม่มีการดําเนินการโดยชอบตามกฎหมายที่ดิน บุคคลหรือ
ชุมชนนั้นก็ไม่มีสิทธิในที่ดินตลอดจนสิทธิในการจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติภายใน
ที่ดินที่ตนครอบครองอยู่และต้องตกอยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับนี้ โดยกระบวนการยุติธรรมทาง
่
กฎหมายไม่สนใจข้อเท็จจริงว่าการที่จะให้ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ปาเขาห่างไกลมาแจ้งการครอบครองที่ดิน
ตามกฎหมายที่ดินนั้นเป็นไปได้หรือไม่ ทั้งนี้ยังไม่ได้พิจารณาด้วยว่าชุมชนเหล่านี้รู้หรือไม่ว่ามี
กฎหมายกําหนดให้พวกเขาต้องดําเนินการด้วยหรือไม่ ในขณะเดียวกันการกําหนดพื้นที่ให้เป็นเขต
่
่
รักษาพันธุ์สัตว์ปา เขตอุทยานแห่งชาติ หรือเขตปาสงวนแห่งชาติ ก็เป็นอํานาจของรัฐเพียงหน่วยเดียว
เท่านั้น โดยไม่ได้เปิดให้ชุมชนซึ่งอยู่อาศัยในพื้นที่มาช้านานได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย
เลย ทําให้รัฐพิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสมเฉพาะประเด็นด้านความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
่
อยู่ฝายเดียวเท่านั้นโดยไม่ได้พิจารณาในประเด็นการครอบครองหรือใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
ั
ที่สัมพันธ์กับชุมชนในฐานะที่เป็นปจจัยสําคัญการดํารงชีวิตของชุมชน และไม่ได้เปิดให้ชุมชนซึ่งอยู่
่
อาศัยในพื้นที่มาช้านานได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย พื้นฐานแนวคิดของรัฐในการกําหนดพื้นที่ปา
ดังกล่าวนี้ สะท้อนให้เห็นแนวคิดที่ไม่ยอมรับตัวตนของชุมชนและแนวคิดในการหวงกัน
่
ทรัพยากรธรรมชาติโดยรัฐเพียงฝายเดียว
การไม่ยอมรับตัวตนของชุมชนที่ครอบครองและทําประโยชน์อยู่ก่อนแล้วในพื้นที่ดังกล่าว ทํา
ให้ชุมชนกลายเป็นผู้กระทําผิดกฎหมายรัฐ ทั้งที่หากพิจารณาตามหลักสิทธิชุมชนทั้งตามกฎหมาย
่
ระหว่างประเทศและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ชุมชนในพื้นที่ปาหลายพื้นที่อาจ
ั
ถือเป็นผู้ทรงสิทธิชุมชนที่รัฐต้องยอมรับและให้การคุ้มครองการใช้สิทธิของชุมชน โดยประเด็นปญหานี้
ั
ยังเชื่อมโยงไปถึงปญหาอันเกิดจากการทําหน้าที่ของผู้ใช้กฎหมายอีกด้วย ที่พบว่าเจ้าหน้าที่รัฐผู้ใช้
่
กฎหมายส่วนใหญ่มีทัศนคติทางลบกับชุมชนในเขตปาไม่เข้าใจบริบททางสังคม และขาดความรู้ความ
เข้าใจและศิลปะในการทํางานกับชุมชนและมักเจ้าหน้าที่ใช้ดุลพินิจมากเกินไปและมักใช้ไปในทางที่มิ
ชอบ
5‐50