Page 100 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 100

่
                                                                                            ่
                       บังคับ เช่น ชนิดสัตว์ปาคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเดิมยังคงให้เป็นสัตว์ปาคุ้มครองตาม
                       พระราชบัญญัติฉบับใหม่ไปก่อน
                                                                    ่
                                 - คณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา เดิมมีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น
                                                                                 ่
                       ประธาน เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ปาแห่งชาติ มีรัฐมนตรีว่าการ
                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธานมีบทบาทมากขึ้น เช่น การออกกฎระเบียบต่าง ๆ ต้องได้รับ
                       ความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ

                                 - ในส่วนของการอนุญาตต่าง ๆ เจ้าหน้าที่จะต้องรีบดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60  วัน
                       หากไม่เสร็จให้ถือว่าอนุญาตไปโดยปริยาย ซึ่งพระราชบัญญัติเดิมไม่เคยบัญญัติไว้
                                                                                    ่
                                 - ผู้มีหน้าที่ควบคุมตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่ คือ กรมปาไม้และกรมประมง (เดิมมี
                                ่
                       เพียงกรมปาไม้) โดยกรมประมงมีอํานาจเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสัตว์นํ้า
                                 - มีการเพิ่มโทษให้สูงขึ้นจากเดิม
                                               ่
                                 - ห้ามล่าสัตว์ปาสงวนและคุ้มครองในทุกกรณี นอกจากล่าเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทาง
                       วิชาการ ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ
                                                      ่
                                                                     ่
                                                                                                         ่
                                 -   ห้ามเพาะพันธุ์สัตว์ปาสงวนและสัตว์ปาคุ้มครอง ยกเว้นชนิดที่ให้เพาะพันธุ์สัตว์ปา
                       คุ้มครอง หรือดําเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะ
                                                                                           ่
                                                     ่
                                          ่
                              - ห้ามค้าสัตว์ปาสงวน สัตว์ปาคุ้มครอง รวมทั้งซากและผลิตภัณฑ์ของสัตว์ปาเหล่านั้น ยกเว้น
                               ่
                       ชนิดสัตว์ปาคุ้มครองที่กําหนดให้เพาะเลี้ยง และได้รับอนุญาตให้เพาะเลี้ยง
                                                     ่
                                                                ่
                                                                                    ่
                                 - ห้ามครอบครองสัตว์ปาสงวน สัตว์ปาคุ้มครอง ยกเว้นสัตว์ปาคุ้มครองชนิดที่กําหนดให้
                       เพาะพันธุ์และผู้ดําเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะที่ได้รับอนุญาต
                                                                 ่
                                                     ่
                                 - การนําเข้าส่งออกสัตว์ปาสงวน สัตว์ปาคุ้มครองและสัตว์ตามความตกลงระหว่างประเทศ
                       จะต้องได้รับอนุญาตจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
                                                                                                  ่
                                                                  ่
                                                      ่
                                 - การนําเคลื่อนที่สัตว์ปาสงวน สัตว์ปาคุ้มครองและซากผ่านด่านตรวจสัตว์ปา จะต้อง
                       ได้รับอนุญาตเสียก่อน
                                 - การดําเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะจะต้องได้รับอนุญาตเสียก่อน (จากอธิบดี)
                                                 ่
                                                       ่
                              มาตรา 7  ผู้ใดล่าสัตว์ปาโดยฝาฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้  ด้วยความจําเป็นและภายใต้
                       เงื่อนไขดังต่อไปนี้ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ (1)  เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพันจากอันตรายหรือเพื่อสงวนหรือ
                       รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น (2) การล่านั้นได้กระทําพอสมควรแก่เหตุ และ (3) ในกรณีที่
                                                                                                   ่
                                                         ่
                                           ่
                                                                            ่
                       สัตว์ที่ถูกล่านั้นเป็นสัตว์ปาสงวนหรือสัตว์ปาคุ้มครองมิได้นําสัตว์ปาที่ถูกล่าหรือซากของสัตว์ปาที่ถูกล่า
                                                        ่
                       นั้นเคลื่อนที่ และได้แจ้งเหตุที่ได้ล่าสัตว์ปาไปแล้วนั้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบโดยไม่ซักช้า ให้สัตว์
                        ่
                                                                                         ่
                                         ่
                       ปาหรือซากของสัตว์ปาที่ถูกล่าตามวรรคหนึ่งตกเป็นของแผ่นดินและให้กรมปาไม้หรือกรมประมง
                       แล้วแต่กรณี นําไปดําเนินการตามระเบียบที่อธิบดีกําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
                                                                                                     ่
                                                                                        ่
                              หมวด 3  การล่า การเพาะพันธุ์  การครอบครอง  และการค้าซึ่งสัตว์ปาซากของสัตว์ปาและ
                                                  ่
                       ผลิตภัณฑ์ที่ทําจากซากของสัตว์ปา
                                                                      ่
                                                                                     ่
                              มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดล่า หรือพยายามล่าสัตว์ปาสงวนหรือสัตว์ปาคุ้มครอง เว้นแต่เป็นการ
                       กระทําโดยทางราชการที่ได้รับยกเว้นตามมาตรา 26
                                                                                                      5‐28
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105