Page 99 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 99
อํานาจกําหนดอัตราและวางระเบียบเกี่ยวกับการเก็บค่าบริการ ค่าธรรมเนียม หรือค่าตอบแทน
ดังกล่าวได้ ทั้งนี้โดยอนุมัติของรัฐมนตรี
เงินที่เก็บได้ตามวรรคก่อน เงินที่มีผู้บริจาคเพื่อบํารุงอุทยานแห่งชาติ เงินค่าปรับที่พนักงาน
เจ้าหน้าที่เปรียบเทียบตามมาตรา 28 และเงินราย ได้อื่น ๆ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีอากรใด
ๆ และเก็บรักษาไว้ใช้จ่ายในการบํารุงรักษาอุทยานแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกําหนด
โดยอนุมัติของรัฐมนตรี
1.4) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
่
่
สถานการณ์สัตว์ปาที่ลดจํานวนลงมากทั้ง ๆ ที่รัฐบาลได้มีมาตรการในการคุ้มครองสัตว์ปามา
่
นาน เริ่มจากการตราพระราชบัญญัติสําหรับรักษาช้างปา ใน ร.ศ. 119 (พ.ศ. 2443) ในสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อควบคุมการจับ การล่า และฆ่าช้าง รัฐบาลสมัยจอม
่
พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีได้ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2503 ซึ่ง
่
่
่
ได้จําแนกสัตว์ปาไว้เป็น 2 หมวด ได้แก่ สัตว์ปาสงวนและสัตว์ปาคุ้มครอง
่
่
่
สัตว์ปาสงวน หมายถึง สัตว์ปาที่หาได้ยาก บางชนิดมีจํานวนลดลงมากจนสูญพันธุ์ไป สัตว์ปา
สงวนได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายห้ามมิให้ผู้ใดล่า ยกเว้นเพื่อการศึกษาและวิจัยเท่านั้น
่
สัตว์ปาคุ้มครอง แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
่
่
- สัตว์ปาคุ้มครองประเภทที่ 1 หมายถึง สัตว์ปาซึ่งตามปกติคนไม่กินเนื้อเป็นอาหาร ไม่ล่า
่
่
เพื่อการกีฬาหรือเป็นสัตว์ปาที่ทําลายศัตรูพืช หรือขจัดสิ่งปฏิกูล หรือเป็นสัตว์ปาที่ควรสงวนไว้ประดับ
ความงามตามธรรมชาติ
่
่
- สัตว์ปาคุ้มครองประเภทที่ 2 หมายถึงสัตว์ปาซึ่งตามปกติคนกินเนื้อเป็นอาหารหรือล่า
เพื่อการกีฬา
่
่
สัตว์ปาสงวนและสัตว์ปาคุ้มครองทั้ง 2 ประเภท ก็ยังลดน้อยลงอีกจนบางชนิด จึงได้มีการ
แก้ไขเพิ่มเติม โดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 228 ลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2515 เพื่อการสงวน
่
่
และคุ้มครองสัตว์ปาตลอดจนรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยของสัตว์ปา และในปี พ.ศ. 2518 ได้มี
การประชุมเกี่ยวกับการค้าพืชและสัตว์หายากขึ้นระหว่างประเทศต่าง ๆ จํานวน 96 ประเทศ ผลจาก
การประชุมได้กําหนดห้ามทําการค้าขายพืชและสัตว์จํานวน 675 ชนิดโดยเด็ดขาด เนื่องจากอยู่ใน
่
ภาวะที่ใกล้จะสูญพันธุ์ จึงได้มีการออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2535 ขึ้นมาใช้
แทนพระราชบัญญัติฉบับเดิม โดยมีการอนุญาตให้ภาคเอกชนดําเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะได้
่
่
เพาะพันธุ์สัตว์ปาคุ้มครองบางชนิดได้ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และขยายพันธุ์สัตว์ปาและเสริมรายได้ของ
ประชาชน นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มโทษต่อการกระทําความผิดให้สูงขึ้น ดังสาระสําคัญของกฎหมาย
่
่
่
ตามที่ฝายพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ปา กรมปาไม้ได้รวบรวมไว้ ดังนี้
่
- ยกเลิกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2503 และประกาศคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ 228 ลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2515
- ยกเลิกใบอนุญาตต่าง ๆ ที่ออกตามพระราชบัญญัติเดิมทั้งหมด
- สําหรับกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ ที่ออกตามพระราชบัญญัติเดิมให้ใช้ ต่อไป
หากไม่ขัดแย้งกับพระราชบัญญัติฉบับนี้จนกว่าจะมี กฎ ระเบียบ และประกาศฉบับใหม่ออกมาใช้
5‐27