Page 78 - แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน : วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 78

วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา   77



                                                         บรรณานุกรม


                     ภาษาไทย
                     แจ็คสัน, ปีเตอร์ เอ. 2548ก. “การระเบิดขึ้นของอัตลักษณ์ทางเพศในสังคมไทยกับการท้าทายโลกาภิวัตน์
                            เกย์และทฤษฎีเพศที่แตกต่างของตะวันตก.” แปลโดย เทอดศักดิ์ ร่มจําปา. ใน “ผู้หญิง” ในวาทกรรมสิทธิ

                            ทางเพศ, หน้า 216-256. กฤตยา อาชวนิจกุล และวรรณา ทองสิมา, บรรณาธิการ. เชียงใหม่: ศูนย์สตรี
                            ศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์.
                     แจ็คสัน, ปีเตอร์ เอ. 2548ข. “การวิจัยของไทยเรื่องรักร่วมเพศชายและการข้ามเพศกับข้อจํากัดทาง

                            วัฒนธรรมของแนววิเคราะห์แบบฟูโกต์.” แปลโดย วรรณา ทองสิมา. ใน ทั้งรัก ทั้งใคร่ ทั้งใช้ความรุนแรง
                            ต่อผู้หญิง, หน้า 371-427. กาญจนา แก้วเทพ พริศรา แซ่ก๊วย และวรรณา ทองสิมา, บรรณาธิการ.
                            เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์.
                     เทอดศักดิ์ ร่มจําปา. 2545. วาทกรรมเกี่ยวกับ "เกย์" ในสังคมไทย พ.ศ. 2508-2542. วิทยานิพนธ์

                            ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                     นฤพล ด้วงวิเศษ. 2549ก. เกย์ลอกคราบ. นนทบุรี: วัฒนศาลา.
                     นฤพล ด้วงวิเศษ. 2549ข. “ซาวน่าเกย์กับการเผยร่าง.” รัฐศาสตร์สาร. 27, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 56-98.

                     นฤพล ด้วงวิเศษ. 2553. “ไม่มั่วแต่ทั่วถึง: เซ็กแฟนตาซีของเกย์ไทยยุค 2000.” วารสารเพศวิถีศึกษา. 1:
                            9-28.
                     นุ่มนวล ยัพราช และใจ อึ๊งภากรณ์. 2549. “ขบวนการรักเพศเดียวกัน.” ใน ขบวนการเคลื่อนไหวทาง
                            สังคมในไทย, หน้า 73-95. กรุงเทพฯ: ประชาธิปไตยแรงงาน.

                     เฟอร์กูสัน, จอร์จ. 2549. เครื่องหมายและสัญลักษณ์คริสตศิลป์. แปลและอธิบายเพิ่มเติมโดย กุลวดี
                            มกราภิรมย์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
                     ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2548. “กระบวนการหาคู่นอนในสวนสาธารณะของชายผู้รักเพศเดียวกัน.” วารสาร

                            สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 31 (มกราคม-เมษายน): 76-98.
                     ภิญโญ กองทอง. 2530. “เกย์ในเรื่องสั้นไทย: ภาพสะท้อน ‘ลึก’ แต่ไม่รอบด้าน.” ถนนหนังสือ. 4, 10
                            (เมษายน): 76-80.
                     วรรณนะ หนูหมื่น. 2552. การศึกษานวนิยายฉายภาพชีวิตไทยร่วมสมัย (2520-2547). วิทยานิพนธ์

                            ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
                     วราภรณ์ แช่มสนิท. 2551. “หลากหลายคือเป็นธรรม: Politics of Recognition กับการเคลื่อนไหวเรื่องเพศ
                            วิถีในสังคมไทย.” วารสารจุดยืน. 2: 75-113.

                     วิทยา พุ่มยิ้ม. 2550. ภาพแทนของชายรักร่วมเพศในวรรณกรรมไทย พ.ศ.2544-2548. วิทยานิพนธ์
                            ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                     วิภา ด่านธํารงกูล และวิชัย โปษยะจินดา, บรรณาธิการ. 2547. เครือข่ายสังคมและเพศสัมพันธ์กลุ่มชาย
                            ชอบชาย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83