Page 190 - แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน : วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 190
วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา 189
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กุลนรี ราชปรีชา. 2552.วรรณกรรมการสงคราม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. 2551. ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสยาม พ.ศ. 2475 – 2500. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตํารา
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ทวีปวร [นามแฝง]. 2539. จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร.
ทิพย์สุเนตร อนัมบุตร. 2534. วรรณกรรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
รามคําแหง
น.ม.ส. [นามแฝง]. 2518. สามกรุง. กรุงเทพฯ: วังบูรพา.
นายปรีดี [นามแฝง]. 2552. “สงครามและสันติภาพ.” ใน 64 ปี วันสันติภาพไทย 16 สิงหาคม 2552. กรุงเทพฯ:
คณะกรรมการวันสันติภาพไทย.
นายผี (นามแฝง). 2541.รวมบทกวีนายผี: อัศนี พลจันทร. กรุงเทพฯ: สามัญชน.
พฤทธิสาน ชุมพล, ม.ร.ว. 2534. “สันติภาพภายใต้เงื่อนไขของความขัดแย้งทางสังคมและการเมือง.” ใน มนุษย์กับ
สันติภาพ. ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มณฑา พิมพ์ทอง. 2547. ปัญหาของสตรีญี่ปุ่น: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมหลังสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุพร แสงทักษิณ. 2540. วรรณคดีการเมืองเรื่องสามกรุง. กรุงเทพฯ: มติชน.
วรมาศ ยวงตระกูล.2547. วาทกรรมสงครามและสันติภาพในกวีนิพนธ์สงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร
มหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา สุจฉายา. 2542. “เพลงพื้นบ้าน.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 8 (คติชนวิทยาสําหรับครู).
นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. 2542. เอกสารการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย. นนทบุรี:
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุตมัย ศรีสุข. 2523. ประวัติศาสตร์ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ.
สุมาลี วีระวงศ์และคณะ. 2544. กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย: บทวิเคราะห์และสรรนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ศยาม.
เสฐียรโกเศศ. 2533. การศึกษาวรรณคดีแง่วรรณศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
อนงค์นาฏ เถกิงวิทย์. 2551. วรรณคดีประจักษ์พยาน: บันทึกของสตรีผู้รอดชีวิตจากการล้างเผ่าพันธุ์ในยุโรป
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อวยพร มิลินทางกูร. 2519. ลักษณะคําประพันธ์ร้อยกรองของไทยตั้งแต่ พ.ศ.2475-2501.วิทยานิพนธ์ปริญญา
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุชเชนี. 2544. ขอบฟ้าขลิบทอง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ผีเสื้อ.