Page 121 - แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน : วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 121

120      แดศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน


                                                        บรรณานุกรม

                ภาษาไทย
                กนกวรรณ ภิบาลชนม์. 2543. “สิทธิสตรีตามอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ.”

                       ใน สิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย, หน้า 105-109. วิชัย ศรีรัตน์, บรรณาธิการ. นนทบุรี:
                       โครงการศูนย์กฎหมายสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา.
                กุสุมา รักษมณี. 2547. “พ่อค้าปลา.” ใน เส้นสีลีลาวรรณกรรม, หน้า 149-153. กรุงเทพฯ: แม่คําผาง.

                กุสุมา รักษมณี, เสาวณิต จุลวงศ์ และสายวรุณ น้อยนิมิตร. 2550. ศักดิ์ศรีและความอับอายในวรรณกรรมไทย.
                       กรุงเทพฯ: แม่คําผาง.
                จตุพร มีสกุล. 2540. การศึกษาเชิงวิจารณ์บทละครนอกพระราชนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวง
                       ภูวเนตรนรินทรฤทธิ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย

                       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                ฉลอง สุวรรณโรจน์. 2542. “ชาละวัน: นิทาน.” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม 4, หน้า 1819-1820.
                       กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

                ชลลดา ชะบางบอน. 2548. ไกรทอง (ฉบับการ์ตูน). ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
                ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. 2532. “สันติศึกษา.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสันติศึกษา, หน้า 53-86. นนทบุรี:
                       สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
                ชัยวัฒน์ สถาอานันท์, 2549. อาวุธมีชีวิต? แนวคิดเชิงวิพากษ์ว่าด้วยความรุนแรง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

                       ฟ้าเดียวกัน.
                นราธิปประพันธ์พงศ์,กรมหมื่น. 2517.  บทละครเสภาเรื่องไกรทอง.  (ม.ป.ท.). (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงาน
                       ฌาปนกิจศพ หม่อมราชวงศ์หญิง สิรยากร ศิลปี ณ วัดธาตุทอง พระโขนง กรุงเทพมหานคร

                       วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2517).
                บาหยัน อิ่มสําราญ. 2548. “เสือโค: ความรุนแรงและการสืบทอด.” ใน เอกสารประกอบการประชุมประจําปี
                       ทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง,หน้า 144-171. กรุงเทพฯ:
                       ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

                เบญจวรรณ ฉัตระเนตร. 2518.  พระราชนิพนธ์บทละครนอกในรัชกาลที่ 2: การศึกษาในเชิงวิจารณ์. วิทยานิพนธ์
                       ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                บุษย์. 2521. ไกรทอง.  กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

                ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
                พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. 2545.  บทละครนอกพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2. กรุงเทพฯ:
                       ศิลปาบรรณาคาร.
                ยศ สันตสมบัติ. 2548. “การทําความเข้าใจ ‘เพศสถานะ’ และ ‘เพศวิถี’ ในสังคมไทย”, ใน เพศสถานะและเพศวิถี

                       ในสังคมไทย, หน้า 1-34. อมรา พงศาพิชญ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126