Page 89 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 89

72   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     12. คําเดิมแตนิยามความหมายใหม เชน ลึงค ในพจนานุกรมฉบับ
                               ราชบัณฑิตยสถานระบุวา เปนคํานามหมายถึง อวัยวะเพศชาย อวัยวะเพศ
                                                                          21
                               ประเภทคําในไวยากรณที่บอกใหรูวาคํานั้นเปนเพศอะไร  หากมีผูนํามาเชื่อม
                                                                          22
                               โยงเขากับคําวา "Link" ที่แปลวา ประสาน เกี่ยว สัมพันธ


                               ลึงค...ปลัดขิก: ภาษาแหงอํานาจ


                                     “ศิวลึงค” หรือ “องคกําเนิดเพศชาย” คือสัญลักษณรูปอวัยวะเพศชาย
                               ซึ่งถูกใชเปนเครื่องหมายในศาสนาพราหมณ-ฮินดูที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ
                               และแสดงถึงอํานาจในการสรางสรรคของพระอิศวร ลัทธิบูชาศิวลึงคเขามาใน

                               เมืองไทยพรอมกับการเขามาของศาสนาพราหมณ ในทางไสยศาสตรศิวลึงค
                               ถูกนํามาทําเปนเครื่องรางของขลัง โดยแกะดวยไมและใชหอยติดเอวเพื่อปองกัน
                                                                  23
                               เจาแมกาลี มีชื่อเรียกในภาษาไทยวา “ปลัดขิก”
                                                                                      24
                                     ในบทความเรื่อง“ปลัดขิกและองคชาติ” ของพิทยา บุนนาค  ใน
                               นิตยสารศิลปวัฒนธรรมกลาวถึงปลัดขิกและองคชาติไวอยางนาสนใจวา การ
                               บูชาปลัดขิก (บางครั้งก็เรียกวา “ขุนเพ็ด” หรือ “องคชาต”) เปนประเพณีของ
                               ไทยที่มีมาแตกรุงศรีอยุธยาและสืบเนื่องกันมาจนปจจุบัน เพื่อหลอกผีใหเขาใจผิด
                               ไปวาเด็กชายนั้นไมใชเด็กแตเปนผูชายเต็มตัวแลว โดยจะนิยมใหเด็กชาย (อายุ
                               ประมาณ 3-4 ขวบขึ้นไป) แขวนปลัดขิก (ซึ่งเลียนแบบลักษณะขององคชาต

                               โดยยอสวนมาก แตจะปราศจากหนังหุมปลาย) ไวที่ระดับเอว เพื่อใหหอยลงมา
                               ใกลกับระดับองคชาต (ไอจู) ของเด็กใหมากที่สุด ถาตองการใหปลัดขิกมี


                               21  ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 1017-1018.
                               22  nunut. พจนานุกู. โพสตเมื่อ 7 กุมภาพันธ 2550 <http://nunut1984.mobile.spaces.live.com/ent.
                                 aspx?b=1&h=cns!D0C9D4D27557AE78!466>
                               23  ดูเพิ่มใน ตํานานศิวลึงค. ตาเถร-12/09/2001 09:50. <http://board.dserver.org/P/PaKai/000000
                                 69.html>
                               24  พิทยา บุนนาค. “ปลัดขิกและองคชาต”. ศิลปวัฒนธรรม ปที่ 27 ฉบับที่ 4, 1 กุมภาพันธ 2549 <http://
                                 www.artgazine.com/shoutouts/viewtopic.php?t=1405>

                                                         มลฤดี ลาพิมล
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94