Page 81 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 81
64 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
“ควย” มักใชเมื่อกลาวถึงสวนของ “อวัยวะเพศสืบพันธุของชาย” โดย
ทั่วไปถือวาเปนคําหยาบ เปนคําไมสุภาพ และไมใชพูดกันในที่สาธารณะ สวน
ใหญผูพูดมักจะเลี่ยงไปใชคําวา “อวัยวะเพศชาย” หรือ “องคชาต” แทนใน
ภาษาทางการหรือภาษาวิชาการดานวิทยาศาสตรการแพทยเมื่อกลาวถึง
อวัยวะสวนนี้
“ระบบสืบพันธุของเพศชายจะประกอบไปดวยอวัยวะหลักๆ 2 สวนได
แก ลูกอัณฑะและอวัยวะเพศชาย เนื่องจากระบบสืบพันธุและระบบทางเดิน
3
ปสสาวะของเพศชายจะอยูใกลกันและทํางานสัมพันธกัน...”
“ภาพตัดตามขวางของอวัยวะเพศชายองคชาต (Penis) แสดงใหเห็นวา
มีลักษณะเปนทอนยาว อยูภายนอกรางกายของเพศชายตรงบริเวณหัวเหนา
ทําหนาที่เปนทางผานของปสสาวะและน้ํากาม...เมื่อมีอารมณทางเพศทําให
เกิดการแข็งตัวขององคชาต เพื่อใหสามารถสอดใสองคชาตเขาไปภายในชอง
คลอดของเพศหญิง ที่ปลายองคชาตเปนจุดรวมของเสนประสาท ซึ่งไวตอการ
กระตุนความรูสึกทางเพศ ซึ่งสวนนี้เปรียบเทียบไดกับคลิตอริสของเพศหญิง
ตามสถิติชายไทยมีความยาวเฉลี่ยของอวัยวะเพศเมื่อแข็งตัวที่ 5 นิ้ว”
ในพจนานุกรมฉบับใหม เลม ๑ ของราชบัณฑิตยสถาน มีกลุมคําที่มี
ความหมายเหมือนกับอวัยวะเพศชาย(ควย) อยูหลายคําดวยกัน อาทิเชน
4
จู น. อวัยวะเพศชาย.คําที่มีความหมายเหมือน. กระจู. ไอจู.
5
กระจู น. อวัยวะเพศชาย. คําที่มีความหมายเหมือน. จู. ไอจู.
นองจู น. เชน “อื.ม.ม.ม.. เปาตุงๆ แบบนี้สันนิษฐานไดวาตองเปนนอง
จูแนนอน”
6
7
นองชาย น 2. อวัยวะเพศชาย.
3 ระบบสืบพันธุเพศชาย. เว็บไซต < http://sexclub7.web1000.com/know/sex/know39.html>
4 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค. 2550.
หนา 42.
5 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค. 2550.
หนา 2.
6 นิวมาเยือน. สังคังนั้น...สําคัญไฉน. ใน “Sex-For-You” โพสตเมื่อง 1 ก.ย. 2549 <http://anew.
exteen.com/>
7 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค. 2550. หนา 87.
มลฤดี ลาพิมล