Page 254 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 254
บทที่ 4 เพศวิถี: โสเภณี 239
สามี หรือผูหญิงที่ติดเชื้อจากคูรัก แตกามโรคก็ยังไดชื่อวา “โรคผูหญิง” แมวา
ผูหญิงบางกลุมจะมีความพยายามที่จะเรียกวา “โรคผูชาย” กลับบาง แตก็ดูจะไม
เปนผล คําวา “โรคผูหญิง” จึงเปนประจักษพยานหนึ่งของความไมเทาเทียมเรื่อง
ทางเพศในสังคม กลาวคือ คนสวนใหญเรียกโรคที่ (มองวา) นารังเกียจวาเปนโรค
ของผูหญิง เพราะสังคมพิพากษาแลววา ผูแพรเชื้อคือ ผูหญิง (บริการทางเพศ)
ขณะที่สังคมกลับไมไดติเตียนพฤติกรรมการไปใชหญิงบริการของผูชาย
แตอยางใด
แพะรับบาปที่ถูกละเลย
โดยที่มาของคํา อํานาจ มายาคติเรื่องเพศของสังคมที่สรางความเขาใจ
วา ผูแพรเชื้อกามโรคคือ หญิงบริการทางเพศ ในขณะที่สังคมมักไมพูดถึง หรือ
ไมยอมพูดถึงการที่ผูชายเปนฝายแพรเชื้อใหกับหญิงบริการ จึงสงผลตอมาตรการ
การรักษาและควบคุมปองกันโรคตามมา เมื่อผูชายหรือผูใชบริการละเลยในการ
ที่จะปองกันโรค ในขณะเดียวกันการตีตราวา “ผูหญิง” ในที่นี้คือหญิงบริการ
ทางเพศ ทําใหผูหญิงที่ไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธหลีกเลี่ยงที่จะไปเขา
รับบริการการรักษา โดยเฉพาะการไปรักษาในคลินิกกามโรค เพราะกลัวจะถูก
มองวาเปนหญิงบริการทางเพศ เนื่องจากสังคมสวนใหญเขาใจวา คลินิกนี้เปน
4
คลินิกเฉพาะสําหรับผูใหบริการทางเพศ สวนหญิงบริการทางเพศก็ไดกลายเปน
กลุมเปาหมายของโครงการปองกันและควบคุมการแพรกระจายโรคติดตอ
ทางเพศสัมพันธรวมทั้งโรคเอดสมาอยางตอเนื่อง หญิงบริการถูกผลักภาระ
ใหตองกลายเปนผูรับผิดชอบในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส เชน
“โครงการถุงยางอนามัย 100%” ทั้งๆ ที่ทุกคนตางก็รูดีวา หญิงบริการขาดซึ่ง
อํานาจตอรองที่จะปองกันกามโรค หรือเอดส เพื่อความปลอดภัยของตนเอง ดังนั้น
จึงไมเปนที่นาแปลกใจเลยวา หญิงบริการทางเพศแบบเปดเผยนั้นมีจํานวน
ลดนอยลงไปทุกทีๆ ขณะที่หญิงบริการทางเพศแบบสมัครเลนเพิ่มขึ้นทุกป
4 เว็บไซต <http://www.policehospital.go.th/main/view.php?group=2&id=183&PHPSESSID=
4fab58a32f5b6495...>
พิมพวัลย บุญมงคล