Page 226 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 226
บทที่ 4 เพศวิถี: โป 209
ลามกอนาจาร vs จินตนาการเรื่องความสุขทางเพศ
ไมวาสังคมจะพยายามหาม ปกปด หรือกําจัดสื่อโปอยางไร ตราบใดที่
มนุษยยังคงมีความตองการทางเพศ มีความอยากรูอยากเห็นในเรื่องเพศ
หนังสือโปก็ยังจะดํารงคงอยูเสมอ ภายใตเงื่อนไขและกลไกการตลาดแบบ
ทุนนิยมที่คอยสนับสนุน
นอกจากแงมุมที่ขัดตอศีลธรรมอันดีงามของสังคม และกระตุนเรา
ใหเยาวชนอยากรูอยากลองในเรื่องเพศ การนํามาซึ่งปญหาอาชญากรรม
ทางเพศ และปญหาสังคมตางๆ ที่มักไดยินไดฟงกันอยูบอยครั้งแลว การมอง
“สื่อโป” ในแงมุมของการสะทอนถึงคานิยมในเรื่องเพศของสังคมไทย หรือในมุมที่
สงผลตอสุขภาวะทางเพศของคนในสังคม กลับเปนสิ่งที่คนสวนใหญไมคอยได
ใสใจสักเทาไรนัก
“สื่อโป” เปนแคเพียงสื่อลามกอนาจารที่ตอบสนอง
ความตองการทางเพศที่ไมปกติของคนบางกลุมเทานั้นหรือ?
การนําเสนอภาพรางกายที่ดูเซ็กซี่ หรือรางกายที่
เปลาเปลือยของผูหญิงจะกระตุนใหผูชายเกิดอารมณทางเพศ
จนไมสามารถจะควบคุมไดจริงหรือ?
สําหรับคําถามแรก ถาคําตอบคือใช นั่นหมายความวาผูชายสวนใหญก็
คงมีความตองการทางเพศไมปกติดวยกันหมด เพราะผูชายแทบจะรอยทั้งรอย
(รวมถึงผูหญิงอีกจํานวนมาก) ลวนแตเคยผานประสบการณการดูหนังสือโป
วิซีดีโปมาดวยกันทั้งสิ้น สําหรับหลายๆ คนหนังสือโป หรือวิซีดีโปเหลานี้ถือเปน
ครูสอนเพศศึกษา (ทั้งในทางทฤษฎีและในทางปฏิบัติ) คนแรกของพวกเขาดวย
ซ้ําไป
สุไลพร ชลวิไล