Page 218 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 218
บทที่ 4 เพศวิถี: โป 201
โป
สุไลพร ชลวิไล
จาก “หนังฉายเสริม” ถึง “โป...มั้ยพี่”
คําวา “โป” ในภาษาไทยนั้นมาจากคําวา “โปว” ในภาษาจีนแตจิ๋ว
โดยความหมายของคําเองไมไดมีความหมายเกี่ยวของกับเรื่องของเนื้อหนังมังสา
อยางที่เขาใจกันทุกวันนี้แตประการใด หากการที่คําๆ นี้มาเกี่ยวของกับ
“เรื่องเพศ” นั้น เนื่องมาจากปรากฏการณที่สมัยหนึ่งโรงภาพยนตรในยาน
เยาวราชไดนําเอาภาพยนตรสั้นซึ่งแสดงการรวมเพศมาฉายเสริมภาพยนตร
รอบปกติเรื่องที่มีความยาวนอยกวาภาพยนตรโดยเฉลี่ยทั่วไป ภาพยนตรที่
นํามาฉายนี้ถูกเรียกวา “หนังโปว” หรือ “หนังที่เอามาฉายเสริม” ซึ่งตอมาเพี้ยน
1
มาเปน “หนังโป” ในความหมายอยางที่เปนที่เขาใจกันในปจจุบัน ในทํานอง
เดียวกันกับที่ความหมายของคําวา “ยาโปว” ซึ่งหมายถึงยาบํารุงที่กินเขาไปเพื่อ
2
เสริมใหรางกายแข็งแรง อยูในสภาพปกติ แตตอมาคนสวนใหญกลับเขาใจวา
“ยาโปว” หมายถึง ยาบํารุงกําลังทางเพศมากกวา
ในแงของภาษา คําวา “โป” นี้ปรากฏอยูในพจนานุกรมฉบับราช-
บัณฑิตยสถาน มาตั้งแตป พ.ศ. 2493 โดยในครั้งนั้นบอกเพียงความหมายวา
“สงเสริมสิ่งที่บกพรอง” ตอมามีผูทวงติงวาความหมายที่ใหนั้นไมตรงกับ
ความเขาใจโดยทั่วไป ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2525 จึงไดใหคําอธิบายเกี่ยวกับคําวา “โป” ซึ่งเปนความหมายที่ปรากฏ
อยูมาจนถึงปจจุบันไววา
1 The Legendary Midfielder. “ฝรั่ง-โป-ทุเรศ” เว็บไซต <http://www.bloggang.com/viewdiary.
php?id=thenut&month=05-2006&date=17&group=1&gblog=11>
2 <http://www2.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9490000025104>
สุไลพร ชลวิไล