Page 16 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 16

x   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดานเพศภาวะ เพศวิถีและสุขภาพ 3)
                               การสนทนากลุมยอย 3 กลุม ซึ่งสมาชิกกลุมสนทนาเปนผูทํางานเกี่ยวของ
                               ในประเด็นเพศวิถี เพศภาวะและสุขภาวะทางเพศและงานเอดส ไดแก

                                     3.1  การสนทนากลุม จํานวนสมาชิก 10 คน ซึ่งประกอบดวย นักกิจกรรม
                                        ที่ทํางานรณรงคดานเอชไอวี/เอดส จากภาคเหนือ

                                     3.2  การสนทนากลุม จํานวนสมาชิก 5 คน ซึ่งประกอบดวยผูทํางาน
                                        รณรงคดานสิทธิมนุษยชนของผูที่มีความหลากหลายทางเพศ
                                        จากกรุงเทพฯ และพัทยา
                                     3.3  การสนทนากลุม จํานวนสมาชิก 50 คน จากคณะทํางานเรื่อง

                                        ผูหญิงในงานเอดส ซึ่งประกอบดวยผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี และ
                                        นักกิจกรรมที่ทํางานรณรงคเรื่องเอชไอวี และนักกิจกรรมที่ทํางาน
                                        รณรงคเรื่องเอชไอวี/เอดส ณ จังหวัดอุบลราชธานี


                                     คณะนักวิจัยประกอบไปดวยนักวิจัยที่มีประสบการณในการทํางานวิจัย
                               ภาคสนาม วิทยากรกระบวนการฝกอบรมดานเพศภาวะ เพศวิถี นักกิจกรรม
                               เคลื่อนไหวในเชิงนโยบายและสังคมในประเด็นเรื่องเพศภาวะ เพศวิถี สิทธิ

                               อนามัยการเจริญพันธุ ความรุนแรงตอผูหญิงในมิติเพศภาวะ เอดส และบุคคล
                               รักเพศเดียวกัน โดยนักวิจัยแตละคนตางมีประสบการณและตัวตนทาง
                               เพศภาวะและเพศวิถีที่แตกตางหลากหลายกันทั้งทางดานวัย ภูมิลําเนา

                               อัตลักษณทางเพศภาวะและเพศวิถี สถานภาพการมีคู กลาวคือ มีทั้งนักวิจัย
                               ที่มีเพศภาวะเปนชาย และหญิง ชายรักชาย หญิงรักหญิง มีคูและโสด
                               รักตางเพศ รักเพศเดียวกัน และรักทั้งสองเพศ และเปนนักวิจัยที่มีภูมิลําเนา

                               มาจากทั้งภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือและภาคใต ดวยคุณลักษณะที่
                               หลากหลายของคณะนักวิจัย จึงทําใหเกิดมุมมองการวิเคราะหที่ลุมลึก
                               ในประเด็นเพศวิถีตางๆ ที่เฉพาะเจาะจง และหลากหลายรอบดาน ที่รุมรวย

                               ดวยการคํานึงถึงบริบททางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ตางๆ ทั่วทุกภูมิภาค
                               ของประเทศไทย
                                     การวิเคราะหคําสําคัญในประเด็นเพศวิถีและเพศภาวะในสังคมไทย
                               เริ่มตั้งแตการวิเคราะหที่มาของคํา ความหมายของรากศัพทของคําสําคัญ



                                                       พิมพวัลย บุญมงคล
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21