Page 17 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 17
บทนํา xi
เชื่อมโยงใหเห็นคําศัพทอื่นๆ ที่อยูในกลุมความหมายใกลเคียงกัน การวิเคราะห
คําศัพทหลักและคําศัพทอื่นๆ ยังครอบคลุมบริบทที่คํานั้นๆ ถูกใชและรวมทั้ง
ความหมายที่ชัดเจนและความหมายที่ซอนเรน แตมีนัยยะที่ตราตรึง ตอกย้ํา
และผลิตซ้ํามายาคติดานเพศวิถีและเพศภาวะ
โดยการรื้อสรางความหมายของคําหรือภาษาที่ใชในเรื่องเพศ ทั้งที่เปน
ความหมายชัดเจนและแอบแฝงเพื่อใหเห็นถึงอํานาจของภาษาที่มีสวนสําคัญ
ในการประกอบสรางชุดความเชื่อ การใหความหมายเรื่องเพศภาวะและเพศวิถี
ตลอดจนการสะทอนผานการวิเคราะหการใชภาษาเพศวาแทจริงแลวตนกําเนิด
ของคําตางๆ ในภาษาเพศเปนเรื่องราวในชีวิตประจําวัน และเปนสวนหนึ่งของ
ชีวิตผูคน ไมไดมีความหมายในเชิงลบ หรือใหคุณคาเพศใดเพศหนึ่งมากกวา
เพศหนึ่ง หรือรูปแบบพฤติกรรมการแสดงออกอีกอยางหนึ่ง แตเปนเรื่องของ
การพยายามของสถาบันทางสังคมตางๆ ที่จะควบคุมเพศวิถีของผูคน
โดยเฉพาะผูหญิงและกลุมคนที่มีความหลากหลายทางเพศ นอกจากนั้นผูวิจัย
ยังวิเคราะหใหเห็นถึงการที่ผูคนในสังคมยังมีความพยายามในการสราง
และใชภาษา ผานการใหความหมายใหมโดยการสรางและใชภาษาเพื่อจะ
เปลี่ยนแปลงสังคมใหทุกคนมีสิทธิที่เทาเทียมกันในการแสดงออกเรื่องเพศวิถี
ที่เคารพสิทธิของกันและกันอีกดวย
พิมพวัลย บุญมงคล
หัวหนาโครงการวิจัย
พิมพวัลย บุญมงคล