Page 200 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 200
บทที่ 4 เพศวิถี: ชายรักชาย 183
เพศสัมพันธ ความรัก กับตัวตนที่หลากหลาย
ปจจุบันคําวา “เกย” เปนคําที่นับวันจะเปนที่รูจักแพรหลายในสังคมมาก
กวาคําอื่นๆ อยาง “ชายรักชาย” หรือ “เอ็มเอสเอ็ม” ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะคําวา
“เกย” เปนคําที่สั้นกระชับ ฟงดูมีความเปนสากล ทันสมัย และถูกใชกันใน
หลายวงการมากกวา ทั้งวงการของเกยเอง และนอกวงการเกย เชน การใชคํา
เรียกที่ขึ้นตนวา “เกย...” และตามดวยคําตางๆ ในการแบงประเภทเกยออกเปน
กลุมๆ ตามบทบาทเวลามีเพศสัมพันธ หรือการใชคําวาเกยในงานพาเหรด
ตอตานโรคเอดส หรือพาเหรดแสดงความภูมิใจในความเปนเกย ในสื่อเฉพาะ
สําหรับเกย ในนวนิยาย เรื่องสั้น งานวิชาการ เปนตน
ตัวอยางหนึ่งของการใชคําวาเกยภายในกลุมของเกยเอง คือการแบง
ประเภทของเกยออกเปน 3 กลุมโดยใชคําวาเกยนําหนา ตามบทบาททางเพศ
เมื่อเวลามีเพศสัมพันธ ไดแก
เกยคิง (Gay King) หมายถึง เกยที่พึงพอใจกับบทบาททางเพศ
โดยการเปนฝายกระทํา เปนฝายสอดใสอวัยวะเพศ หรือเปนฝายรุกเพียง
อยางเดียว (ภาษาอังกฤษ เรียกวา Top หมายถึงฝายที่อยูขางบน)
เกยควีน (Gay Queen) หมายถึง เกยที่พึงพอใจกับบทบาททางเพศ
โดยการเปนฝายถูกกระทํา เปนฝายที่ใหอีกฝายสอดใสอวัยวะเพศ หรือเปน
ฝายรับเทานั้น (ภาษาอังกฤษ เรียกวา Bottom หมายถึงฝายที่อยูขางลาง)
เกยควิง (Gay Quing ซึ่งมาจาก Queen + King) หรือ โบธ (Both)
หมายถึง เกยที่สามารถรับบทบาททั้งเปนฝายกระทํา หรือ ฝายถูกกระทําก็ได
ภาษาอังกฤษใชคําวา Versatile
บางครั้งความเปน “เกยคิง” หรือ “เกยควีน” ก็อาจถูกตัดสินจากลักษณะ
ทาทางและบุคลิกที่แสดงออกภายนอกดวย เชน ถาเกยคนนั้นมีบุคลิกทาทาง
ออกสาว หรือดูเปนผูหญิง ก็จะถูกมองวาเปน “เกยควีน” แตถาเกยคนนั้นมี
บุคลิกทาทางเปนแมนๆ หรือมีความเปนผูชาย ก็จะถูกมองเปน “เกยคิง” ซึ่งใน
ความเปนจริงแลวไมจําเปนเลยที่ตัวตนความเปนเกยจะตองถูกกําหนดดวย
บุคลิกภาพที่มองเห็นภายนอก มีเกยจํานวนมากที่บุคลิกภาพทาทางภายนอก
สุไลพร ชลวิไล