Page 196 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 196

บทที่ 4 เพศวิถี: ชายรักชาย  179

                               เสือไบ, อีแอบ, ตุด, ผูชายสีมวง, ผูชายดอกไม  หรือแมแตคําวา “เกย”
                               (ทับศัพทมาจากภาษาอังกฤษ Gay) ซึ่งปจจุบันเปนคําที่ใชกันอยางแพรหลาย
                               สมัยเมื่อ 40 กวาปกอนคําๆ นี้ก็ถือวาเปนคําที่เปนคอนขางมีความหมายไปใน

                               เชิงลบ ทําใหไมคอยมีใครกลานิยามตนเองดวยคําๆ นี้มากนัก
                                     คําตางๆ เหลานี้ หลายคําเปนคําที่ไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดวิชาการ

                               ทางการแพทย และจิตวิทยา และไดรับการถายทอดและเผยแพรผานทาง
                               สื่อมวลชนอีกตอหนึ่ง บางคําก็เปนคําที่เกิดขึ้น และไดรับการเผยแพรโดยสื่อ
                               อาจเรียกไดวาทั้งแวดวงวิชาการทางการแพทย และสื่อมวลชน ตางก็มีบทบาท
                               สําคัญเปนอยางมาก ทั้งตอการสรางคําจํากัดความใหม และตอการใหคํา

                               อธิบายพฤติกรรม ความเปนตัวตนของคนรักเพศเดียวกัน
                                     ตัวอยางเชน คําวา “ลักเพศ”  เปนคําศัพทที่นิยามโดยแพทย ในชวง
                               ประมาณป พ.ศ. 2504 โดยคําๆ นี้ถูกนํามาใชในความหมายเพื่ออธิบายถึงกลุม

                               คนที่มีอวัยวะสืบพันธุเปนผูชาย แตในทางจิตใจกลับอยากเปนผูหญิง โดยเชื่อวา
                               เปนผลมาจากความผิดปกติทางจิตใจมากกวารางกาย และในทางการแพทย
                                             2
                               จัดวาเปน “ผูปวย”  นอกจากนี้คําวา “ลักเพศ” ถูกเชื่อมโยงเขากับแนวคิดเรื่อง
                               “รักรวมเพศ”  ซึ่งจิตแพทยไทยในสมัยนั้นอธิบายวา เปนความผิดปกติทางเพศ

                               หรือความผิดปกติทางจิต และอธิบายวาสาเหตุมาจากความกดดันในครอบครัว
                               ซึ่งมีทางรักษาใหหายได ถาไดรับคําแนะนําจากแพทย
                                     หรือคําศัพทแสลงอีกคําซึ่งหมายถึง การมีเพศสัมพันธระหวางผูชายกับ

                               ผูชายดวยกันอยางคําวา “อัดถั่วดํา”  มีที่มาจากขาวในหนาหนังสือพิมพ เมื่อ
                               ป พ.ศ. 2478 ที่ตํารวจไดจับกุมผูชายคนหนึ่งซึ่งมีพฤติกรรมหลอกเด็กผูชาย
                               หลายคนมาสําเร็จความใครใหตนเอง กอนที่จะสงเด็กผูชายเหลานี้ใหกับผูชาย

                               มีเงินที่ตองการมีเพศสัมพันธกับเด็กผูชาย โดยผูชายคนที่ถูกจับกุมนี้มีชื่อเลนวา
                               “นายถั่วดํา” กรณีนี้คลายกับกรณีของอดีตนายทหารยศรอยโทที่ถูกจับในขอหา
                               ฆาตกรรมหลังมีความสัมพันธทางเพศกับผูตายที่เปนผูชายดวยกัน เมื่อป พ.ศ.

                               2541 ซึ่งเปนที่รูจักกันในนาม “ผูกองตุย” ซึ่งหลังจากหนังสือพิมพลงขาวนี้ ชื่อเลน


                               2    ดูเพิ่มใน เทอดศักดิ์ รมจําปา. วาทกรรมเกยในสังคมไทย พ.ศ. 2508–2542 วิทยานิพนธ อักษรศาสตร
                                 มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2546.


                                                        สุไลพร  ชลวิไล
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201