Page 199 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 199

182  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     คอลัมนนิสตเกยชื่อดังเจาของบทความ “เลิกแอบเสียที”  วิทยา แสงอรุณ
                               เคยเขียนถึงประสบการณ “การแอบ” ของตนเองไวในคอลัมนของเขาไววา
                               สาเหตุที่เขาตองแอบก็เพราะสังคมไทยมีอคติกับ “เกย” ไมวาจะทั้งในแงของ

                               ความเปนบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต หรือในแงเปนผูที่มีพฤติกรรม “สําสอน
                               ทางเพศ” เปนตัวการแพรเชื้อเอดส ขณะเดียวกันไมใชแตคําวา “เกย” เทานั้นที่มี

                               ความหมายในแงลบ คําวา “แอบจิต” ซึ่งเปนคําที่ใชไดทั้งกับผูชาย และผูหญิงที่
                               รักเพศเดียวกัน ก็เปนคําที่มีความหมายในเชิงลบดวย เพราะมีนัยที่แสดงถึง
                               การโกหก หลอกลวง ปดบังตัวตนทางเพศที่แทจริงของตนเอง ทําใหผูอื่นเขาใจผิด
                               โดยคําๆ นี้เปนคําที่คนอื่นใชพูดถึงผูชายหรือผูหญิงที่มีพฤติกรรม “แอบ” มาก

                               กวาที่พวกเขาและเธอจะพูดถึงตนเอง และเปนคําที่ฟงดูมีนัยในเชิงดูถูกเปนคํา
                               ไมสุภาพ โดยเฉพาะเมื่อใชคําวา “อีแอบ” คนรักเพศเดียวกันสวนใหญจึงไมชอบ
                               ถูกเรียกดวยคําๆ นี้ คําวา “แอบ” เปนคําที่มีนัยละเอียดออนตอคนรักเพศเดียวกัน

                               เพราะเกี่ยวพันกับมุมมองที่แตละคนมีตอสังคม ซึ่งจะสงผลตอการตัดสินใจเปดเผย
                               ความเปนตัวตนทางเพศวิถีกับครอบครัว คนรอบขาง และกับสังคม วาตนเอง
                               พรอมจะเปดเผยตัวตนทางเพศวิถีของตนในระดับไหน (กับใคร เมื่อไร และ
                               อยางไร) หรือคนอื่นรับรูในความเปนตัวตนมากนอยแคไหน และมีทัศนคติอยางไร

                               (ยอมรับ หรือไมยอมรับ) สวนหนึ่งที่ทําใหคําวา “แอบ” กลายเปนคําในเชิงดูหมิ่น
                               เหยียดหยามเกย เพราะมีเกยจํานวนไมนอยที่เจตนาหลอกลวง และใชผูหญิง
                               เปนเครื่องมือปดบัง อําพรางความเปนเกยของตนเองดวยการแตงงานกับผูหญิง

                               จนเปนที่มาของการที่เกยกลุมหนึ่งพยายามสรางแนวคิดเกี่ยวกับการเปนเกย
                               ที่ดีขึ้นมาภายใตคําวา “กุลเกย”  โดยสวนหนึ่งของความเปนเกยที่ดี ก็คือ จะตอง
                                                       5
                               ไมไปหลอกลวงผูหญิงแตงงาน เพื่อปดบังความเปนเกยของตน










                               5    ผูที่เปนเจาของแนวคิดนี้ คือ นที ธีระโรจนพงษ นักกิจกรรมเกยคนแรกๆ ที่ทํางานรณรงคเรื่อง
                                 เอชไอวีในกลุมเกยในเมืองไทย และเปนเกยคนแรกๆ อีกคนที่เปดเผยตนเองกับสาธารณชน.


                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204