Page 193 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 193

176  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               โดยอางอิงกับเพศภาวะ (วาตนเองมีบุคลิกภาพการแสดงออกภายนอกเปนแบบ
                               เพศไหน) หรืออางอิงกับเพศวิถี (หรือมีวิถีชีวิตทางเพศแบบใด) ถือเปนเรื่องใหม
                               จึงไมใชเรื่องแปลกที่คนสวนใหญจะยังสับสนกับการแยกแยะความเปนผูชายที่

                               รักใครชอบพอกับเพศเดียวกัน แตไมไดแตงตัว หรือตองการจะเปนผูหญิงออก
                               จากความเปนกะเทย หรือสาวประเภทสอง

                                     ในชวงป พ.ศ. 2540–2541 กลุมอัญจารีรวมกับองคกรพันธมิตรได
                               ออกมาเคลื่อนไหวคัดคานกรณีสภาสถาบันราชภัฏมีมติที่จะออกกฎหามไมให
                               “บุคคลที่เบี่ยงเบนทางเพศ” เขาศึกษาตอในสถาบันราชภัฏ ในเวลานั้นประเด็นเรื่อง
                               “บุคคลรักเพศเดียวกัน” กลายเปนประเด็นที่ถูกพูดถึงในสังคมอยางกวางขวาง

                               ขณะเดียวกันปรากฏการณนี้ก็ทําใหคนในสังคมไดรูจักกับคําวา “ชายรักชาย”
                               และ “หญิงรักหญิง” มากขึ้นดวย ผลจากความสําเร็จในการเคลื่อนไหวคัดคาน
                               กรณีสภาสถาบันราชภัฏ ทําใหเกิดกลุมองคกรพัฒนาเอกชนหลายองคกรตามมา

                               โดยเฉพาะองคกรชายรักชายที่เขามาทํางานเคลื่อนไหวทางสังคมในประเด็นนี้
                               และคําวา “ชายรักชาย” ก็ไดถูกนํามาอางถึงอยูเสมอในการรณรงคของประเด็น
                               เรื่องสิทธิและความเทาเทียมของบุคคลรักเพศเดียวกัน รวมทั้งการรณรงค
                               เคลื่อนไหวในดานเอชไอวี/เอดส

                                     นอกจากคําวา “ชายรักชาย” แลว ในชวง 5-6 ปที่ผานมานี้ ยังมีคํา
                               นิยามผูชายที่มีความสัมพันธกับผูชายอีกคําหนึ่ง ซึ่งไดรับอิทธิพลของแนวคิดใน
                               เชิงระบาดวิทยาเกี่ยวกับเอชไอวี/เอดสในตะวันตก ที่ไดจัดประเภทกลุมบุคคล

                               โดยโยงกับพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส นั่นคือคําวา
                               “เอ็มเอสเอ็ม” (มาจากคําวา MSM ที่ยอมาจาก Men Who Have Sex with Men
                               ในภาษาอังกฤษ) หรือ “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” เนื่องจากมีผูชายจํานวน

                               ไมนอยที่ไมไดนิยามตนเองวาเปนผูชายที่ชอบผูชายดวยกัน แตมีเพศสัมพันธกับ
                               ผูชายได เชน ในกรณีของผูชายขายบริการ เปนตน โดยนิยามของ “เอ็มเอสเอ็ม”
                               สะทอนความเปนตัวตนที่เกิดจากการมีกิจกรรมทางเพศระหวางผูชายกับผูชาย

                               โดยไมมองวาผูชายคนนั้นจะมีตัวตนทางเพศภาวะแบบไหน (แตงตัว หรือมีกริยา
                               อาการตรงขามกับเพศของตนเอง ตองการแปลงเพศ หรือไมตองการแปลงเพศ)
                               หรือมีตัวตนทางเพศวิถีแบบไหน (เปนผูชายที่รักตางเพศ รักเพศเดียวกัน รักได
                               ทั้งสองเพศ)


                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198