Page 189 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 189

172  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     ทอมวันเวย หมายถึง ทอมที่รับบทบาททางเพศเปนฝายกระทํา หรือ
                               เปนฝายรุกเทานั้น จะไมยอมใหคูเพศสัมพันธคือดี้ เปนฝายกระทําโดยเด็ดขาด
                                     ทอมทูเวย หมายถึง ทอมที่สามารถใหคูรักของตัวเองซึ่งคือ “ดี้” รับ

                               บทบาทเปนฝาย “รุก” ได
                                     เลส เปนคํายอมาจากคําวา เลสเบี้ยน (Lesbian) หมายถึง ผูหญิงที่มี

                               บุคลิกภายนอก หรือทาทางการแตงตัวเหมือนกับผูหญิงโดยทั่วไป เพียงแตมี
                               ความรัก มีความปรารถนาทางเพศกับเพศเดียวกัน โดยที่ไมแบงวาในคูความ
                               สัมพันธใครเปนทอม หรือใครเปนดี้ แตอาจจะแบงบทบาททางเพศวาใครเปน
                               ฝายรุก หรือฝายกระทํา จะเรียกวา เลสคิง สวนฝายที่เปนฝายรับ หรือถูก

                               กระทํา เรียกวา  เลสควีน
                                     นอกจากนั้นก็ยังมีคําเรียกอีกหลายคํา ซึ่งก็แลวแตใคร หรือชุมชน
                               หญิงรักหญิงใดจะเสนอคํานิยามกันขึ้นมา และขึ้นอยูกับวาคําไหนจะไดรับ

                               ความนิยม และนําไปใชตอๆ กันไป แตที่นาสังเกตก็คือ คําแตละคําที่เกิดขึ้นมานั้น
                               สะทอนใหเห็นถึงการใหความสําคัญกับบทบาททางเพศบนเตียง เปนเกณฑ
                               ในการนิยามตัวตน เนื่องจากในความเปน ทอม ดี้ เลส ไมไดบงบอกถึงตัวตน
                               ทางเพศวิถีแตอยางใด และในแตละกลุมก็ประกอบดวยทอม ดี้ และเลสที่มี

                               วิถีทางเพศที่แตกตางหลากหลายกันออกไป การนําเอาคําที่บอกถึงบทบาทหรือ
                               วิถีทางเพศเขามาประกอบ ก็เพื่อทําใหตัวตนทางเพศภาวะนั้นดูชัดมากขึ้น
                               วาใครมีบทบาททางเพศแบบไหน เพื่อการวางตัวในสรางความสัมพันธ และการ

                               สื่อสารระหวางกันภายในกลุม
                                     จากคําวา “กะเทย” (ในความหมายที่ใชเรียกผูหญิง) “ทอม” “ดี้” จนถึง
                               คําวา “หญิงรักหญิง” รวมทั้งคําใหมๆ อีกหลายคําที่เกิดขึ้น หรือกําลังจะ

                               เกิดขึ้นในอนาคต สะทอนใหเห็นวา ตัวตนทางเพศของผูหญิงรักเพศเดียวกันนั้น
                               ประกอบดวยแงมุมความเปนเพศภาวะ และเพศวิถีที่ซับซอนและแตกตาง
                               หลากหลาย จนยากที่จะใชคําเพียงคําเดียวมาอธิบายความเปนผูหญิงที่

                               รักเพศเดียวกันไดทั้งหมด
                                     การเกิดขึ้นของคําวา “หญิงรักหญิง” ที่ยึดหลักความเทาเทียมกัน
                               ของหญิงรักหญิงทุกกลุมเมื่อวันวาน มาในวันนี้คําๆ เดียวกันนี้กลับทําใหคน
                               มองไมเห็นถึงตัวตนทางเพศภาวะ และเพศวิถีที่หลากหลายของความเปน


                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194