Page 168 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 168
บทที่ 4 เพศวิถี: กะเทย 151
กะเทย
สุไลพร ชลวิไล
ตัวตนทางเพศที่มีมาตั้งแตในประวัติศาสตร
ในบรรดาคําในภาษาไทยที่อธิบายถึงตัวตนทางเพศซึ่งไมใชผูชาย และ/หรือ
ผูหญิง คําๆ เดียวที่สังคมไทยรูจักคุนเคยมานาน และยังคงใชมาจนถึงทุกวันนี้ก็
คือ คําวา “กะเทย”
กะเทย เปนคําศัพทเกาแก ไมปรากฏที่มาชัดเจนวาเปนคํายืมจากภาษา
เขมร หรือเปนคําไทยแตเดิม แตที่แนๆ คือ เปนคําซึ่งใชมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 1
โดยในประมวลกฎหมายตราสามดวง (พ.ศ. 2347) ไดกลาวถึงกะเทย ในฐานะ
ของคนจําพวกหนึ่ง ในจํานวนบุคคล 30 จําพวกซึ่งมีลักษณะไมเหมาะสมที่จะ
นํามาเปนพยาน เนื่องจากเชื่อวาคนเปนกะเทยนั้นคือคนที่เคยทําผิดฐาน
“ลวงประเวณีภริยาผูอื่น” เมื่อชาติกอน จึงตองชดใชกรรมดวยการเกิดเปนสัตว
1
ที่ถูกตอน 500 ชาติ เปนหญิง 500 ชาติ และเปนกะเทย 500 ชาติ
นอกจากนี้คําวากะเทย ยังปรากฏอยูในหนังสือ “สัพะจะนะพาสาไท”
(ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2397) โดยผูเขียนคือบาทหลวงปาเลอกัวซไดแปล
คําวากะเทย (ที่ในเวลานั้นเขียนเปน “กเทย”) เทียบเคียงกับคําในภาษาอังกฤษวา
Hermaphrodite หรือ บุคคลที่มีอวัยวะเพศทั้งหญิงและชายอยูในรางกาย
เดียวกันขณะที่ “พจนานุกรมภาษาสยาม” (Dictionary of the Siamese
Language) ของ Rev. J. Caswell ที่จัดทําขึ้นในป พ.ศ. 2398 ซึ่งเปนปเดียวกับ
ที่สยามทําสนธิสัญญาเบาวริ่งกับอังกฤษ ไดใหคําจํากัดความ “กะเทย” ไววา
“กะเทยนั้นคือบุคคลที่มีประเทษที่ลับเปนหญิงก็ใช เปนชายก็ใชนั้น เรียก
1 เทอดศักดิ์ รมจําปา. “จาก “กะเทย” ถึง “เกย” ประวัติศาสตรชายรักรวมเพศใน สังคมไทย.“ วารสาร
อักษรศาสตรฉบับ ความรัก ความรู ผูหญิง ผูชาย. ปที่ 32, ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2546).
สุไลพร ชลวิไล