Page 169 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 169

152  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               วาคนกะเทย” สวนใน “อักขราภิธานศรับท” ของหมอบรัดเลยซึ่งพิมพเมื่อป พ.ศ.
                               2416 อธิบายถึงคําวากะเทยไววา “คนไมเปนเภษชาย, ไมเปนเภษหญิง,
                                              2
                               มีแตทางปศสาวะ” คําวากะเทยในความหมายทํานองเดียวกันนี้ไมไดมีอยูแต
                               ในภาษาไทยเทานั้น แตยังพบในภาษาไทอะหม และภาษาเขมรอีกดวย โดย
                                                                              3
                               อะหมเรียกวา “เทย” และเขมร มีคําวา “เขทิย” (อานวากะเตย)
                                     จากประวัติความเปนมาของคํา สะทอนใหเห็นวาคนไทยรูจักคําวา
                               “กะเทย” มาชานานแลว โดยมองเห็น “กะเทย” ในฐานะของบุคคลที่มีอวัยวะเพศ
                               ที่แตกตางออกไปจากชายและหญิง หรือบุคคลที่มีอวัยวะเพศไมสมบูรณ
                               (หรือที่เรียกวา Hermaphrodite ในภาษาอังกฤษ) ซึ่งตอมาวิชาการทางดาน

                               การแพทยและจิตวิทยาไดนําเอาคําวา “กะเทยแท” มาใชในการนิยามความหมาย
                               ของบุคคลที่มีความแตกตางทางดานรางกายเชนนี้
                                     จากการพูดคุยกับผูสูงอายุที่อยูในวัยเลย 60 ปขึ้นไปจํานวน 10 คน

                               เกี่ยวกับคําเรียกบุคคลที่มีอัตลักษณทางเพศภาวะ และเพศวิถีแตกตางจาก
                                            4
                               ผูหญิงและผูชาย  พบวาผูสูงอายุทั้งหญิงและชายทุกคนรูจักคําวา “กะเทย” ใน
                               ความหมายของ “ผูชายที่อยากเปนผูหญิง” ขณะเดียวกันผูสูงอายุที่เปนผูหญิง
                               บางคน ยังไดพูดถึงกะเทยในความหมายของ “ผูหญิงที่อยากเปนผูชาย” ดวย

                               และมี 2 คนที่พูดถึงกะเทยในแงของการเปน “บุคคลที่มีอวัยวะเพศทั้งชาย
                               และหญิง” อยูในรางกาย


                                            “สมัยกอนกะเทยนี่คือเขาจะมีเพศทั้งชายหญิงอยูใน
                                      ตัวของเขาครบนะ แตสมัยนี้มันไมอยางนั้น ผูหญิงอยากเปน
                                      ผูชาย ผูชายอยากเปนผูหญิง ไมรูจะเรียกอยางไร จะวา
                                      กะเทยก็ไมเชิง เพราะถาเปนกะเทย ตองมีทั้งสองถึงจะถูก

                                      ตอง ปาเคยเห็น เคยรูจักดวย ตอนที่อยูที่นครปฐม คนที่เปน


                               2   เรื่องเดียวกัน.
                               3   เรื่องเดียวกัน อางถึงในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับป พ.ศ. 2493.
                               4   ขอมูลจากบันทึกการสัมภาษณผูสูงอายุซึ่งมารวมชมการแสดงทางวัฒนธรรมที่พิพิธภัณฑสถานแหง
                                 ชาติ พระนคร ประกอบดวยผูหญิงจํานวน 5 คน (อายุระหวาง 63–81 ป) และผูชายจํานวน 5 คน (อายุ
                                 ระหวาง 69-74 ป) สัมภาษณโดยสุไลพร ชลวิไล ระหวางวันที่ 30 พฤศจิกายน–3 ธันวาคม  พ.ศ. 2543.


                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174