Page 116 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 116
สวนที่ 3 การปฏิบัติทางเพศ: เอากัน 99
ในเรื่องเพศนี้ไดถูกผลิตซ้ําแลวซ้ําเลา จนทําใหเกิดเปนภาพตัวแทนในดานลบ
ของเพศสัมพันธนอกกรอบขึ้น
ภาพตัวแทนของรูปแบบเพศสัมพันธที่แฝงดวยอคติทางเพศ ไดแก การ
มองวาการมีเพศสัมพันธทางปาก ทางทวารหนัก กับอุปกรณ นอกบริบทของ
คูความสัมพันธลวนเปนไปเพื่อความสุข ความหฤหรรษเทานั้น จึงเปนเรื่องที่ไม
ชอบธรรม หรือไมควรกระทํา ดังนั้นสุขภาวะของคนที่มีเพศสัมพันธแบบนี้จึง
เกิดขึ้นยากยิ่งบนฐานคติของสังคมไทยปจจุบัน นอกจากนี้คนในสังคมยังถูกทํา
ใหเชื่อวา เพศสัมพันธนอกกรอบทั้งหลายเหลานี้เปนพฤติกรรมเสี่ยงที่นํามาซึ่ง
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และเอชไอวี/เอดส ทั้งที่ในความเปนจริงแลวนั้น การ
มีเพศสัมพันธทุกรูปแบบลวนนํามาซึ่งโรคติดตอทางเพศสัมพันธ และเอชไอวี/
เอดสไดทั้งสิ้น หากการมีเพศสัมพันธในแตละครั้งนั้นเปนเพศสัมพันธที่ไม
ปองกัน และไมปลอดภัย
สําหรับการมีเพศสัมพันธในกลุมเยาวชนมักถูกมองวาเปนเพศสัมพันธ
ที่มีปญหา เพราะนํามาซึ่งการตั้งครรภที่ไมตองการ การทําแทง และการทําลาย
ศีลธรรมจรรยาของสังคม ทั้งที่มีตัวอยางใหเห็นแลววา หากการมีเพศสัมพันธ
ในแตละครั้งไมมีการปองกัน หรือเกิดจากการบังคับก็จะนํามาซึ่งปญหาเรื่อง
การตั้งครรภไมพึงประสงค และอาจนําไปสูการทําแทงที่สามารถเกิดขึ้นไดกับ
คนทุกวัย สวนในกรณีของการมีเพศสัมพันธนอกคูสมรส โดยเฉพาะกรณี
ที่สามีไปมีเพศสัมพันธกับผูหญิงอื่นแลวกลับมามีเพศสัมพันธกับภรรยาตนเอง
โดยไมปองกัน ก็นํามาซึ่งความเสี่ยงตอการไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
และเอชไอวี/เอดสในกลุมแมบานไดเชนกันดังที่มีตัวอยางใหเห็นแลวอยาง
มากมาย
ทั้งหมดนี้หากมองเรื่องการเอากันผานมิติของสุขภาวะทางเพศแลว
ประเด็นสําคัญที่ควรละทิ้งคือมาตรฐานศีลธรรมจรรยา ความดีงามในเรื่องเพศ
แตควรตระหนักถึงบริบทของการมีเพศสัมพันธกันในครั้งนั้นๆ วาเปน
เพศสัมพันธที่ปลอดภัย ปองกัน ตองการ ยินยอมพรอมใจหรือไม นอกเหนือไป
จากมุมมองในเรื่องของการเติมเต็มซึ่งความปรารถนา ความสุข ความหฤหรรษ
รณภูมิ สามัคคีคารมย