Page 121 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 121
104 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
มุมมองความคิดเรื่องการชวยตัวเองอันมีรากฐานจากแนวคิดสิทธิทางเพศ
และความสุขทางเพศ เริ่มมีการผลิต ประกอบสราง และสื่อสารออกมามากขึ้น
ในสังคมไทย จากชุดคําอธิบายของแพทย หรือองคกรที่ทํางานเรื่องเพศภาวะ
และเพศวิถี ที่ออกมาในรูปแบบของการตอบปญหาเรื่องเพศผานสื่อตางๆ เชน
รายการทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ และอินเทอรเน็ต อาทิเชน คอลัมนศาสตรของ
การมีความสุขดวยตัวเอง โดย น.พ. พันธศักดิ์ ศุกระฤกษ ไดอธิบายความหมาย
ของการชวยตัวเองไววา
“คือกระบวนการตอบสนองตอความปรารถนาทางเพศ
ที่เกิดขึ้น เปนปกติตามธรรมชาติของมนุษย เปนทางออกทาง
ธรรมชาติอยางหนึ่งเมื่อเกิดมีสิ่งเราอารมณทางเพศเกิดขึ้น
โดยมีกระบวนการตอบสนองทางเพศคือ กอนอื่นจะตองมี
“สิ่งเรา” จากภายนอกมากระทบกอน สิ่งเราดังกลาว ไดแก รูป
รส กลิ่น เสียง สัมผัส พอสิ่งเรามากระทบกับ “ตัวรับ” ในราง
ของมนุษยแลว ก็จะเกิดการตอบสนองขึ้น ตัวรับของคนเราทั้ง
หา ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง เมื่อตัวรับไดรับสิ่งเรา
แลวก็จะสงสัญญาณไปที่สมอง ใหออกคําสั่งวาจะตอบสนอง
อยางไร ทีนี้การจะตอบสนองทางเพศของคนเรานั้น ตองผาน
การกลั่นกรองของสมองวาจะตอบสนองแบบไหน พอคนเรา
ไดรับการกระตุนเราอารมณทางเพศแลว การตอบสนองจะมี
ออกมาใน 3 รูปแบบคือ เลิกคิดถึงเรื่องนั้นเสีย การตอบสนอง
ก็จะหยุดไปเอง ชวยเหลือตนเองหรือ Masturbation เพื่อ
ไปใหถึงจุดสุดยอด เปนการตอบสนองตออารมณเพศขั้น
พื้นฐานที่ปลอดภัย และทายที่สุดคือ มีเพศสัมพันธ แตจะเปน
เพศสัมพันธแบบชายกับชาย ชายกับหญิง หญิงกับหญิง หรือ
ไปมีเพศสัมพันธในรูปแบบที่ผิดเพี้ยนไปจากคนปกติ ก็เปนอีก
8
เรื่องหนึ่ง”
8 พันธุศักดิ์ ศุกระฤกษ, อางแลว.
รณภูมิ สามัคคีคารมย