Page 120 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 120
สวนที่ 3 การปฏิบัติทางเพศ: ชวยตัวเอง 103
เทานั้น ดังนั้นการชวยตัวเองซึ่งเปนการตอบสนองความตองการทางเพศของตน
ไมใชการทําไปเพื่อสืบทอดเผาพันธุ หรือไมจําเปนตองอยูภายใตระบบการ
แตงงาน จึงมักถูกอธิบายวาเปนความผิด บาป ความผิดปกติ ซึ่งชุดวิธีคิด
เหลานี้ไดสงอิทธิพลมาถึงระบบคิดเรื่องเพศของคนไทยเมื่อสังคมไทยเปดรับ
วัฒนธรรมจากตะวันตกดวย
“การชวยตัวเอง” บอยๆ จะทําใหจิตใจไมปกติหรือเปน
5
โรคจิตประสาทได”
“ทําไมสามีมาสเตอรเบทตนเอง (สําเร็จความใครดวย
ตนเอง) ความรูสึกแรกที่มักแวบเขามาในจิตใจ คือ เอะทําไม
เธอไมทํากับฉัน...เธอมีอะไรปกปดฉัน...ฉันมีอะไรผิดปกติ...ฉัน
ไมดีตรงไหน...ฉันทําอะไรไมถูกใจเธอ...เธอเบื่อฉันแลวหรือ...
6
เธอไปเที่ยวจนติดโรคมาใชไหม....กรี๊ด”
ในการประชุมนานาชาติวาดวยเพศศาสตรศึกษา เมื่อป พ.ศ. 2539
ณ กรุงบาเลนเซีย ประเทศสเปน ไดมีการทาทาย และรื้อสรางชุดวิธีคิดเกี่ยว
กับเรื่องเพศแบบเดิมๆ โดยมีการเสนอแถลงการณวาดวยสิทธิทางเพศของ
บุคคลวา
“บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีสิทธิที่จะกระทําตอตนเองใหมี
ความสุขตอบสนองตออารมณเพศที่เกิดขึ้น ในวิถีทางที่
ปลอดภัย ไมทํารายตนเอง และไมเกิดผลรายตอสุขภาพ”
7
5 “ความเชื่อเกี่ยวกับการชวยตัวเอง” คูมือครูผูสอน รายวิชา “เพศศึกษา” พฤษภาคม 2547 หนา 7-8.
6 กรุงเทพวันอาทิตย ปที่ 16 ฉบับที่ 5995 อาทิตยที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547.
7 พันธุศักดิ์ ศุกระฤกษ. “ศาสตรของการมีความสุขดวยตัวเอง” ใน เนชั่นสุดสัปดาห ปที่ 8 ฉบับที่
370 วันที่ 29 ก.ค.-4 ส.ค. 2542.
รณภูมิ สามัคคีคารมย