Page 209 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 209
โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ :1111
กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ | 151
ก าหนดการจ่ายบ านาญตามอาชีพ ผ่านกองทุนคุ้มครองบ านาญ (Pension Protection Fund) และการ
ก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผลประโยชน์ตามกฎหมายที่สามารถซื้อได้ (money purchase benefits) ที่
ก าหนดโดยศาลฎีกา และกรรมการและเลขาธิการของกรมแรงงานและบ านาญอีกด้วย
แนวนโยบายดังกล่าว ยังได้พิจารณาถึงระบบบ านาญในปัจจุบัน เพื่อให้สามารถครอบคลุมถึง
ค่าใช้จ่ายในการให้ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากบ านาญต่อสมาชิกด้วย และท้ายที่สุด ยังก าหนดวิธีที่จะพิจารณา
การแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนโยบายบ านาญ ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ตามการพิจารณา ดังนี้
- เพิ่มความยืดหยุ่นในการจ่ายสมทบเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับบ านาญพื้นฐาน
- การเปลี่ยนแปลงการให้รา ง วัลของ Payable Uprated Contracted-out Deduction
Increments (PUCODIs)
- นโยบายการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อให้สามารถแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโอน
สินทรัพย์และปริมาณของการช าระเงิน
- เอื้ออ านวยให้มีการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับกองทุนคุ้มครองบ านาญในวาระเบ็ดเตล็ดทั่วไป
- แก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการช าระเงินส่วนแก่นายจ้าง
- แก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับความจ าเป็นในการจัดเรียงผลประโยชน์ของบัญชีเงินสด
- แก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการค านวณหนี้สินในโครงการบ านาญ
(2) การจ้างงานผู้สูงอายุ
ปัจจุบันรัฐบาลอังกฤษริเริ่มนโยบายกระตุ้นให้ผู้สูงอายุยังคงอยู่ในงานประจ า และแสวงหาวิถีทาง
ที่จะแก้ไขปัญหาการแบ่งแยกกีดกันทางอายุ (Age Discrimination) โดยการอาศัยมาตรการทางกฎหมาย
ตามพระราชบัญญัติ Non-statutory Code of Practice on Age Diversity in Employment และด้วยแรง
สนับสนุนจากกฎบัตรว่าด้วยเรื่อง Equal Treatment ของ The European Council of Ministers of the
Employment Directive โดยหวังว่าปัญหาดังกล่าวจะลดลงได้ด้วยมาตรการทางกฎหมาย
กฎหมาย The Employment Equality (Age) Regulations of 2006 มีผลใช้บังคับตั้ง แต่วันที่
1 ตุลาคม 2006 กฎหมายฉบับนี้ ระบุสาระส าคัญ ดังนี้
1) ห้ามมีการปฏิบัติต่อลูกจ้างหรือผู้เข้าอบรมทางวิชาชีพโดยไม่ยุติธรรมเนื่องมาจากความ
แตกต่างเรื่องอายุโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร กล่าวคือ นายจ้างไม่สามารถบังคับให้มีการปลดเกษียณลูกจ้างที่มี
อายุต่ ากว่า 65 ปีได้ เว้นแต่ นายจ้างมีเหตุผลที่สมควรในการก าหนดเกณฑ์อายุเกษียณต่ ากว่านั้น
2) หากนายจ้างก าหนดให้มีเกณฑ์อายุเกษียณต่ ากว่ากฎหมายก าหนด ลูกจ้างมีสิทธิตามกฎหมาย
ที่จะยื่นค าขอท างานต่อไปได้ โดยที่นายจ้างจะต้องรับพิจารณาค าขอร้องนั้นตามกฎหมาย
3) กรณีผู้สูงอายุถูกเลิกจ้างหรือเกษียณอายุ ผู้สูงอายุจะต้องได้รับค่าตอบแทนหรือสิทธิประโยชน์
จากองค์กรเป็นระยะต่อเนื่องไปอีก 5 ปี หรือน้อยกว่า ขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการท างานในองค์กรนั้น
4) นายจ้างจะต้องแจ้งประกาศวันครบเกษียณอายุของลูกจ้างในรอบปีล่วงหน้าอย่างน้อย 6
เดือน เพื่อที่ลูกจ้างจะได้มีเวลาเตรียมตัววางแผนชีวิตต่อไป