Page 57 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 57
45
บริบทสังคมได้อย่างรวดเร็ว ลดความซ้้าซ้อนด้านงบประมาณ แผนการด้าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับน้้า
และยังช่วยประสานข้อมูลหน่วยงานรัฐให้คล่องตัวขึ้นทั้งภาวะปกติหรือวิกฤตต่าง ๆ อันก่อให้เกิด
ระบบข้อมูลทางน้้าที่มีความชัดเจน สามารถน้ามาใช้รับมือภัยพิบัติทางน้้าได้อย่างเป็นระบบและเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)
ตารางที่ 4.1 สาระส้าคัญของพระราชบัญญัติทรัพยากรน้้า พ.ศ. 2561
สาระส าคัญ รายละเอียด
ขอบเขตการบังคับใช้ครอบคลุม 8 ด้าน การจัดสรร การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา
การฟื้นฟู การอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า และสิทธิในน้้า
วางหลักเกณฑ์ในการประกันสิทธิขั้น ก้าหนดสิทธิในน้้าให้บุคคลมีสิทธิใช้/กักเก็บน้้าได้เท่าที่จ้าเป็นแก่
พื้นฐานของประชาชนในการเข้าถึง ประโยชน์ในกิจกรรมหรือในที่ดินของตนโดยผู้อื่นไม่เกิดความ
ทรัพยากรน้้าสาธารณะ เดือดร้อนหรือเสียหาย
ก้าหนดให้การบริหารจัดการทรัพยากร ครอบคลุมการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าทั้งน้้าในเขตชลประทาน น้้า
น้้าอย่างเป็นระบบ นอกเขตชลประทาน และน้้าใต้ดิน
ก้าหนดการบริหารทรัพยากรน้้าแบบ จัดท้านโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้้าที่
บูรณาการ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้วยการปรับปรุงกลไกด้านต่าง ๆ ให้
เหมาะสม เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า การจัดท้าแผนแม่บท
การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา การฟื้นฟู ฯลฯ
จัดให้มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากร องค์กรบริหารจัดการทรัพยากรน้้าทั้งในระดับชาติ ระดับลุ่มน้้า ระดับ
น้้า ลุ่มน้้าสาขา และระดับองค์กรผู้ใช้น้้า โดยสะท้อนให้ประชาชนมีส่วน
ร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า
ก้าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรน้้าที่เป็น แบ่งการใช้น้้าออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) การใช้น้้าประเภทที่หนึ่ง
ธรรมและเหมาะสม ประกอบด้วย การใช้ทรัพยากรน้้าสาธารณะเพื่อการด้ารงชีพ การ
อุปโภคในครัวเรือน การเกษตรหรือการเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ การ
อุตสาหกรรมในครัวเรือน การรักษาระบบนิเวศ จารีตประเพณี การ
บรรเทาสาธารณภัย การคมนาคม และการใช้น้้าในปริมาณเล็กน้อย
(2) การใช้น้้าประเภทที่สอง ได้แก่ การใช้ทรัพยากรน้้าสาธารณะเพื่อ
การอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การผลิตพลังงานไฟฟ้า
การประปา และกิจการอื่น และ (3) การใช้น้้าประเภทที่สาม ได้แก่
การใช้ทรัพยากรน้้าสาธารณะเพื่อกิจการขนาดใหญ่ที่ใช้น้้าปริมาณ
มาก หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบข้ามลุ่มน้้าหรือครอบคลุมพื้นที่อย่าง
กว้างขวาง