Page 56 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 56

44



                              4.1.2 พระราชบัญญัติทรัพยากรน  า พ.ศ. 2561
                              นับแต่อดีตถึงปัจจุบัน การบริหารจัดการทรัพยากรน้้าของประเทศเป็นการท้างานตามภารกิจ

                       ของหน่วยงานที่มีหลายสิบหน่วยซึ่งมีการด้าเนินงานที่ซ้้าซ้อน ไม่เป็นระบบ ขาดประสิทธิภาพ ขาดเอกภาพ

                       ขาดการประสานและการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ส่วนหนึ่งอาจมีสาเหตุจากการที่ไม่มีกฎหมาย
                       แม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าส้าหรับก้าหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าใน

                       ภาพรวม พร้อมทั้งการแบ่งอ้านาจหน้าที่องค์กรที่เกี่ยวข้องไม่ให้ทับซ้อนและเชื่อมโยงกันอย่างชัดเจน

                       ส่งผลให้ที่ผ่านมามีความพยายามผลักดันให้มีการออกกฎระเบียบ และกฎหมายแม่บทการบริหาร
                       จัดการทรัพยากรน้้าหลายครั้ง (ส้านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558)

                              กระทั่งในปี พ.ศ. 2561 สามารถประกาศใช้พระราชบัญญัติทรัพยากรน้้า พ.ศ. 2561 ได้ส้าเร็จ

                       ณ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การบริหารทรัพยากรน้้า ทั้งในมิติด้านการ
                       จัดสรร การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา การฟื้นฟู การอนุรักษ์ และสิทธิในน้้ามี

                       ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะเป็นประโยชน์แก่การบริการสาธารณูปโภคและประโยชน์

                       สาธารณะอย่างอื่น ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา 26 “การ
                       ตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจ้ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน

                       รัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม

                       ไม่เพิ่มภาระหรือจ้ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุและจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความ
                       เป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั งต้องระบุเหตุผลความจ้าเป็นในการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย”

                       ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

                              พระราชบัญญัติทรัพยากรน้้า พ.ศ. 2561 จึงเป็นกฎหมายว่าด้วยทรัพยากรน้้าฉบับแรกของ
                       ประเทศไทย โดยมีสาระส้าคัญดังตารางที่ 4.1 ทั้งนี้ องค์ประกอบของพระราชบัญญัติฉบับนี้

                       ประกอบด้วย 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 106 มาตรา ทั้งนี้ 9 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 ทรัพยากรน้้า

                       หมวด 2 สิทธิในน้้า หมวด 3 องค์กรบริหารจัดการทรัพยากรน้้า (ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ
                       คณะกรรมการทรัพยากรน้้าแห่งชาติ ศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ ลุ่มน้้าและคณะกรรมการลุ่มน้้า และ

                       องค์กรผู้ใช้น้้า) หมวด 4 การจัดสรรน้้าและการใช้น้้า หมวด 5 ภาวะน้้าแล้งและภาวะน้้าท่วม

                       (ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ การใช้ประโยชน์ที่ดินในระบบทางน้้าตามผังน้้า การป้องกันและแก้ไขภาวะ
                       น้้าแล้ง การป้องกันและแก้ไขภาวะน้้าท่วม และอ้านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการป้องกันและแก้ไข

                       ภาวะน้้าแล้งและภาวะน้้าท่วม) หมวด 6 การอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้้าสาธารณะ หมวด 7

                       พนักงานเจ้าหน้าที่ หมวด 8 ความรับผิดทางแพ่งในกรณีที่ท้าให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรน้้า
                       สาธารณะ และหมวด 9 บทก้าหนดโทษ

                              การประกาศใช้พระราชบัญญัติทรัพยากรน้้า พ.ศ. 2561 ถือเป็นความก้าวหน้าครั้งส้าคัญใน
                       การบริหารทรัพยากรน้้าของประเทศในเชิงบูรณาการให้มีทิศทางสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61