Page 59 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 59
47
แห่งชาติ (กนช.) จึงได้จัดท้าแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนแม่บทนี้เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562 และได้ประกาศเป็นราช
กิจจานุเบกษาเพื่อใช้บังคับต่อไป (ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)
เป้าหมายการด าเนินงาน แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี ได้จากการ
ทบทวนปรับปรุงยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 12 ปี และผ่านความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ตลอดจนการบูรณาการหน่วยงานด้านน้้าที่เกี่ยวข้อง และจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
น้ามาวิเคราะห์เพื่อก้าหนดเป็นกลยุทธ์และแผนงานภายใต้แผนแม่บทฯ ส้าหรับการแก้ไขปัญหาอย่าง
ยั่งยืน สอดคล้องกับศักยภาพของลุ่มน้้า สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน และสอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในประเด็น “ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบน
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” โดยมีเป้าหมายการพัฒนา คือ การพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ
และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันอย่างบูรณาการ บนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน มีการ
สร้างสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตเพื่อน้าไปสู่ความยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไป
อย่างแท้จริง ดังนั้น แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี จึงได้ก้าหนดวิสัยทัศน์ คือ “ทุก
หมู่บ้านมีน ้าสะอาดอุปโภค บริโภค น ้าเพื่อการผลิตมั่นคง ความเสียหายจากอุทกภัยลดลง คุณภาพน ้า
อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน บริหารจัดการน ้าอย่างยั่งยืน ภายใต้การพัฒนาอย่างสมดุลโดยการมีส่วนร่วม
ของทุกภาคส่วน” ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ดังกล่าวจึงได้ก้าหนดออกเป็น 6 ด้าน
ด้วยเป้าประสงค์ที่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ทั้ง 6 ด้าน
แผนแม่บท เป้าประสงค์ กลยุทธ์
ด้านที่ 1 จัดหาน้้าสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคให้แก่ 1) พัฒนา ขยายเขต และเพิ่ม
การจัดการน้้า ชุมชน ครบทุกหมู่บ้านหรือทุกครัวเรือน ชุมชน ประสิทธิภาพระบบประปาหมู่บ้าน
อุปโภคบริโภค เมือง แหล่งท่องเที่ยวส้าคัญ และพื้นที่ 2) พัฒนาระบบประปาเมือง/พื้นที่
เศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการจัดหาแหล่งน้้า เศรษฐกิจ
ส้ารองในพื้นที่ซึ่งขาดแคลนแหล่งน้้าต้นทุน 3) พัฒนาน้้าดื่มให้ได้มาตรฐานและราคาที่
พัฒนาน้้าดื่มให้ได้มาตรฐานในราคาที่เหมาะสม เหมาะสม
และการประหยัดน้้า โดยลดการใช้น้้าภาค 4) การประหยัดน้้าทุกภาคส่วน
ครัวเรือน ภาคบริการ และภาคราชการ
ด้านที่ 2 พัฒนาแหล่งเก็บกักน้้าและระบบส่งน้้าใหม่ให้ 1) ลดการใช้น้้า
การสร้างความ เต็มศักยภาพ พร้อมทั้งการจัดหาน้้าในพื้นที่ 2) เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหล่งน้้าและ
มั่นคงของน้้า เกษตรน้้าฝน เพื่อขยายโอกาสจากศักยภาพ ระบบส่งน้้าเดิม