Page 53 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 53

41



                                                            บทที่ 4



                         วิเคราะห์บริบทสิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน  าตามแนวทางสันติวิธี



                              การศึกษาในบทนี้เป็นการน้าเสนอการวิเคราะห์บริบท (Contextual analysis) ที่เกี่ยวกับการ

                       จัดสรรทรัพยากรน้้า โดยมุ่งศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการจัดสรรทรัพยากรน้้าแบบสันติวิธี

                       และสิทธิพึงมีของชุมชนในการมีส่วนร่วมต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน ประกอบด้วย
                       (1) การสังเคราะห์สถานการณ์ นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้้าของ

                       ประเทศไทย (2) วิเคราะห์ข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับสถานการณ์น้้าในประเทศไทยในช่วงระยะเวลา 5 ปี

                       หลัง (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ของประเทศไทย 3 พื้นที่ เพื่อถอดบทเรียนในการพัฒนา
                       เครื่องมือการบริหารจัดการน้้าด้วยแนวทางสันติวิธี และ (4) วิเคราะห์ช่องว่างในการคุ้มครองและ

                       ส่งเสริมสิทธิของชุมชนด้านการจัดการน้้าที่เกิดขึ้นจากนโยบาย กฎหมาย มาตรการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

                       เปรียบเทียบกับพันธกรณีระหว่างประเทศที่ไทยเป็นภาคีและมาตรฐานด้านสิทธิน้้าระหว่างประเทศ
                       รายละเอียดแต่ละประเด็นดังต่อไปนี้



                       4.1 นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน  าของประเทศไทย


                              4.1.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กับทรัพยากรน  า

                              รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 “หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ” ได้ก้าหนดมาตราที่เกี่ยวข้องกับ
                       ทรัพยากรน้้าคือ “มาตรา 258 ให้ด้าเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล โดย

                       ก้าหนดไว้ใน วรรค ช. ด้านอื่น ๆ (1) ให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน ้าที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม

                       และยั่งยืน โดยค้านึงถึงความต้องการใช้น ้าในทุกมิติ รวมทั งความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและ
                       สภาพภูมิอากาศประกอบกัน” ขณะเดียวกันหมวดดังกล่าวได้ก้าหนด “มาตรา 257 การปฏิรูป

                       ประเทศตามหมวดนี ต้องด้าเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี  (1) ประเทศชาติมีความสงบ

                       เรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                       และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม

                       และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล ้า และ (3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

                       และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง” (ส้านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,
                       2560)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58