Page 61 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 61
49
แผนแม่บท เป้าประสงค์ กลยุทธ์
ทันสมัย ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ 2) จัดท้าแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้้า
เชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาและการหาแหล่ง แผนแม่บทระดับลุ่มน้้าและแผนปฏิบัติ
เงินทุน พัฒนาระบบฐานข้อมูลประกอบการ การ รวมทั้งแผนบริหารน้้าในสภาวะ
ตัดสินใจ (คลังน้้าชาติ) สนับสนุนองค์กรลุ่มน้้า วิกฤตทุกลุ่มน้้า
สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างภาครัฐ 3) ติดตามและประเมินผล ทั้งแผนงาน
และเอกชน การบริหารจัดการชลประทาน การ ภายใต้แผนแม่บท
ศึกษาวิจัยเตรียมความพร้อม ส่งเสริมการ 4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการ
ประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของ ตัดสินใจ
ประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สร้าง 5) ศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการ
จิตส้านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า พัฒนา ทรัพยากรน้้า
งานวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีสนับสนุน 6) เสริมสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์
การสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการบริการและการ นโยบาย แผนแม่บท การบริหารจัดการ
ผลิต รวมถึงพัฒนารูปแบบเพื่อยกระดับการ ทรัพยากรน้้า และบูรณาการการมีส่วน
จัดการน้้าในพื้นที่และลุ่มน้้า (เชื่อมโยง ร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า
การตลาด พลังงาน การผลิต และของเสีย) ส่งเสริมการจัดการน้้าชุมชน และการ
จัดการภัยพิบัติด้านน้้าในระดับพื้นที่
ลุ่มน้้า ประเทศ และระหว่างประเทศ
ที่มา: ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ (2562)
4.1.4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 กับทรัพยากรน า การพัฒนาประเทศไทยในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 อยู่ในห้วงเวลาของการปฏิรูปประเทศเพื่อ
แก้ปัญหาพื้นฐานหลายด้านที่สั่งสมมานานท่ามกลางสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วและ
เชื่อมโยงกันใกล้ชิดมากขึ้น หนึ่งในปัญหาดังกล่าวคือการบริหารจัดการน้้าที่ยังไม่เป็นระบบโครงข่ายที่
สมบูรณ์และการพัฒนามีความล่าช้า ดังเห็นได้จากประเทศไทยยังคงต้องประสบกับภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติโดยเฉพาะอุทกภัยและภัยแล้งที่มีความรุนแรงมากขึ้น หรือคุณภาพน้้าที่อยู่ในเกณฑ์ดีมี
แนวโน้มลดลงโดยมีสาเหตุส้าคัญมาจากการชะหน้าดินที่มีปุ๋ยหรือสารเคมีตกค้างจากภาคเกษตรกรรม
ปศุสัตว์ และระบบบ้าบัดน้้าเสียรวมของชุมชนมีจ้านวนไม่เพียงพอซึ่งอาจเป็นสาเหตุสู่ปัญหาความ
ขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรน้้ามากขึ้น ทั้งระหว่างรัฐและประชาชน และระหว่างประชาชนในกลุ่มต่าง ๆ
ด้วยกันเอง ดังนั้น หนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเป็น “ทุนทางธรรมชาติ
และคุณภาพสิ่งแวดล้อม สามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงอาหาร
พลังงาน และน ้า” โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งประเทศเพื่อรักษาความสมดุลของ