Page 96 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 96
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ กรณีที่ ๖ เรื่อง การเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในการสมัครงานกับบริษัทเอกชน
(๑) กระทรวงอุตสาหกรรมควรพิจารณาก�าชับให้ (รายงานผลการตรวจสอบที่ ๓ - ๖ /๒๕๖๒)
หน่วยงานในสังกัดต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ กสม.ได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้ร้องหกรายขอให้
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามมาตรา ๙ (๘) แห่งพระราชบัญญัติ ตรวจสอบ กรณีกล่าวอ้างว่า บริษัทเอกชนก�าหนด
ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยครบถ้วน ให้ผู้สมัครเข้าท�างานต้องตรวจหาเชื้อเอชไอวีก่อนรับ
และสามารถให้ประชาชนเข้าถึงได้ตามที่กฎหมายก�าหนด เข้าท�างาน หากตรวจพบเชื้อดังกล่าวก็จะถูกปฏิเสธ
การเข้ารับท�างาน โดยที่ลักษณะงานไม่มีความเกี่ยวข้อง
(๒) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือ มีความเสี่ยงที่จะแพร่เชื้อเอชไอวีแต่อย่างใด
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ควรร่วมกับส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนครและ ถือเป็นการเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี
จังหวัดสกลนคร พิจารณาชี้แจงท�าความเข้าใจกับประชาชน
ในพื้นที่โครงการส�ารวจแร่โพแทช พร้อมจัดท�าเอกสาร กสม. พิจารณากรณีข้างต้นแล้วเห็นว่า บริษัทเอกชน
ข้อมูลเกี่ยวกับการอาชญาบัตรพิเศษในการส�ารวจแร่โพแทช ก�าหนดให้ผู้สมัครเข้าท�างานต้องตรวจหาเชื้อเอชไอวี
และบันทึกช่วยจ�าเกี่ยวกับความร่วมมือกันทางการค้า ก่อนรับเข้าท�างาน เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการคัดเลือก
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เศรษฐกิจและเทคนิค ในการร่วมลงทุนพัฒนาเหมือง บุคคลเข้าท�างาน เป็นการกระท�าที่เป็นการเลือกปฏิบัติ
แร่โพแทชและผลิตปุ๋ยโพแทชระหว่างประเทศไทยกับ ต่อผู้ร้อง โดยอาศัยเหตุแห่งสถานภาพทางสาธารณสุข
สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและ อันถือเป็นสถานภาพอย่างอื่น (other status) แม้ว่าบริษัท
สุขภาพ และการใช้หรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากร เอกชนอีกรายหนึ่งชี้แจงว่า ไม่มีนโยบายให้ผู้สมัครงาน
ธรรมชาติ เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรวจหาเชื้อเอชไอวี การด�าเนินการให้มีการตรวจเชื้อ
ให้แก่บุคคลและชุมชนในจังหวัดสกลนคร และสามารถ เอชไอวีก่อนรับเข้าท�างานเป็นการกระท�าของบริษัทเอกชน
ใช้สิทธิในการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นตามขั้นตอน ซึ่งเป็นผู้รับจ้างจากบริษัทเอกชนในการคัดเลือกพนักงาน
ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป เข้าท�างาน แต่เมื่อผลของการกระท�าดังกล่าวท�าให้ผู้ร้อง
ต้องตรวจหาเชื้อเอชไอวีก่อนเข้าท�างาน ย่อมถือได้ว่ามีการ
ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เลือกปฏิบัติเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการกระท�าของผู้ถูกร้อง
กระทรวงอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ รายอื่น การกระท�าของบริษัทเอกชนทั้งหกเป็นการกระท�า
การเหมืองแร่ และจังหวัดสกลนคร แจ้งว่ามีศูนย์บริการ ที่ไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้บริการข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๙ พุทธศักราช ๒๕๖๐ กติกา ICCPR และกติกา ICESCR
แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อผู้ร้องทั้งหก ดังนั้น
ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ตามกฎหมายก�าหนด จึงมีมติให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสม
และที่ผ่านมาส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร ในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ
ได้ร่วมมือกับกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
และจังหวัดสกลนคร ได้ชี้แจงท�าความเข้าใจกับประชาชน คุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
ในบริเวณโครงการส�ารวจแร่โปแตซในพื้นที่จังหวัด กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง เพื่อให้สอดคล้องกับหลัก
สกลนครมาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งได้ส่งสื่อประชาสัมพันธ์ สิทธิมนุษยชนต่อผู้ถูกร้องทั้งหก กระทรวงสาธารณสุข
การส�ารวจแร่โปแตซ เผยแพร่ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ในจังหวัดสกลนคร ส�าหรับประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน และคณะรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้รับทราบข้อมูลดังกล่าวแล้ว ในส่วนของจังหวัดสกลนคร พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๑) และ (๓) และ
ได้ร่วมกับส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ
ด�าเนินการประชาสัมพันธ์โครงการ รวมทั้งก�าชับไปยัง สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๑) และ
อ�าเภอ ให้สร้างความเข้าใจและรักษาความปลอดภัย (๓) ประกอบมาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๒ ดังนี้
ทั้งผู้ประกอบการ และประชาชนผู้ต่อต้านและผู้สนับสนุน
94