Page 101 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 101
อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม การฝึกอบรมจะต้องท�าให้เห็น แต่ก�าเนิดได้ร้อยละ ๒๐ - ๕๐ ลดโอกาสการเกิด และ
อย่างเป็นรูปธรรม โดยจะต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการ การเกิดซ�้าความพิการแต่ก�าเนิดของหลอดประสาทได้ 1
ขั้นตอน ระยะเวลา และเป้าหมายอย่างชัดเจน ร้อยละ ๗๐ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังสนับสนุนว่า กรดโฟลิก
หรือโฟเลตยังสามารถลดโอกาสเสี่ยงของความพิการ 2
กรณีที่ ๘ เรื่อง ข้อเสนอแนะนโยบายเพื่อส่งเสริม แต่ก�าเนิดประเภทอื่น เช่น ลดโรคหัวใจพิการแต่ก�าเนิด
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีนโยบายและแผน ลงได้ร้อยละ ๒๕ - ๕๐ ลดความผิดปกติของแขนขาลงได้ 3
การด�าเนินงานเพื่อลดความพิการแต่ก�าเนิด โดยการก�าหนด ร้อยละ ๕๐ ลดความพิการของระบบ ทางเดินปัสสาวะ
ให้กรดโฟลิกเป็นส่วนประกอบในอาหาร และโรคไม่มีรูทวารหนัก ตลอดจนลดโอกาสการเกิด
(รายงานผลการพิจารณา ที่ ๒๙๒/๒๕๖๐) ปากแหว่งเพดานโหว่ลงได้ประมาณ ๑ ใน ๓ จึงสรุปได้ว่า 4
สืบเนื่องจากความพิการแต่ก�าเนิดของบุคคลได้ส่ง การเสริมกรดโฟลิกสามารถป้องกันความพิการแต่ก�าเนิด
ผลกระทบต่อทั้งคนพิการและคนในครอบครัว ไม่ว่าจะเป็น ที่รุนแรงได้เกือบทุกชนิด สอดคล้องกับองค์การอนามัยโลก 5
ผลกระทบด้านสุขภาพและจิตใจ ภาระค่าใช้จ่ายเพื่อ ที่ได้ให้ค�าแนะน�าว่า หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีโอกาสตั้งครรภ์
การได้รับบริการสาธารณสุขที่เหมาะสม และมีมาตรฐาน ควรได้รับกรดโฟลิก ๔๐๐ ไมโครกรัม หรือ ๐.๔ มิลลิกรัม
ความยากล�าบากในการเข้าถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกและ ประจ�าทุกวันอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงระยะเวลาที่มีโอกาส
บริการสาธารณะ การถูกเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน อีกทั้ง ตั้งครรภ์ประมาณ ๓ เดือน ก่อนการตั้งครรภ์จนถึงตั้งครรภ์
ท�าให้สูญเสียงบประมาณและทรัพยากรของประเทศ ครบ ๓ เดือน
เป็นจ�านวนมาก โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้นิยาม
“ความพิการแต่ก�าเนิด” ให้มีความหมายครอบคลุมถึง กสม. พิจารณาแล้วเห็นว่า ประชาชนคนไทยย่อมมี
โรคพันธุกรรมที่อาจจะไม่เห็นความพิการเมื่อแรกเกิด สิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการมีสุขภาพที่ดี
แต่แสดงอาการและความพิการต่อมาในวัยเด็ก ซึ่งปัญหา อันถือเป็นหลักการที่ส�าคัญของสิทธิมนุษยชนที่ต้องได้รับ
ความพิการแต่ก�าเนิดมีสาเหตุส�าคัญ หลายประการ อาทิ ตามมาตรฐานสูงสุด ซึ่งมีวิธีการที่หลากหลายที่จะน�าไปสู่
ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในมารดา การได้รับสารก่อ การได้รับสิทธิของบุคคลในด้านสุขภาพ อาทิ การก�าหนด
ความพิการ โรคประจ�าตัวของมารดา การใช้ยาบางชนิด นโยบาย หรือการน�าหลักการหรือองค์ความรู้ซึ่งองค์การ
ระหว่างตั้งครรภ์ เป็นต้น ส�าหรับประเทศไทย พบว่า อนามัยโลก (WHO) ได้ศึกษาและมีข้อเสนอแนะต่อ
การเสียชีวิตในวัยทารกมีสาเหตุจากความพิการแต่ก�าเนิด ประเทศทั่วโลกมาปรับใช้ หรือการตรากฎหมายที่จ�าเป็น
ประมาณร้อยละ ๒๐ - ๓๐ และพบทารกแรกเกิดมีชีพ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ อันรวมถึงการบังคับใช้กฎหมาย
ซึ่งมีความพิการแต่ก�าเนิดประมาณ ๒๔,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ ดังกล่าวด้วย ซึ่งในส่วนสิทธิของมารดาและการพัฒนา ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คนต่อปี หรือร้อยละ ๓ - ๕ ของจ�านวนทารกแรกเกิด สุขภาพของเด็กให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง จ�าเป็นอย่างยิ่ง
มีชีพทั้งหมดประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ คนต่อปี และจ�านวน ที่จะต้องได้รับการพัฒนาสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ
เด็กพิการแต่ก�าเนิดมีแนวโน้มสะสมเพิ่มขึ้นทุกปี จึงจ�าเป็น ตั้งแต่การวางแผนครอบครัว การฝากครรภ์ในระยะก่อน
ต้องด�าเนินการแก้ไขปัญหาความพิการแต่ก�าเนิดอย่างรอบ และหลังคลอดบุตร ดังนั้น การพัฒนานโยบายและ
ด้านและเร่งด่วน ซึ่งได้มีการด�าเนินการแล้วบางส่วน เช่น แผนการด�าเนินงานเพื่อลดความพิการแต่ก�าเนิด โดยการ
การก�าหนดให้เติมสารไอโอดีนในเกลือและสารปรุงรส ก�าหนดให้กรดโฟลิกเป็นส่วนประกอบในอาหารจึงเป็นการ
เพื่อป้องกันการไม่พัฒนาการของเซลล์สมองขณะ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุข
ตั้งครรภ์และวัยเด็ก เป็นต้น และสวัสดิการจากรัฐตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งได้วาง
ผลจากการศึกษาทางด้านโภชนาการซึ่งประเทศ หลักการและคุ้มครองไว้ว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกัน
ที่พัฒนาแล้วทั่วโลกต่างให้การยอมรับ การสนับสนุนว่า ในการรับบริการสาธารณสุขที่เหมาะสม เป็นไปอย่างทั่วถึง
การเสริมกรดโฟลิก ๔๐๐ ไมโครกรัมต่อวัน (๐.๔ มิลลิกรัม มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน โดยเฉพาะเด็กและ
ต่อวัน) ในช่วง ๔ - ๖ สัปดาห์ก่อนตั้งครรภ์ จนถึงตั้ง เยาวชนซึ่งมีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนา
ครรภ์ได้ ๓ เดือน สามารถลดโอกาสเสี่ยงของความพิการ ด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตามศักยภาพใน
99