Page 92 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 92

ต่อสาธารณะอันอาจกระทบสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว  การด�าเนินการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
            เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัวของประชาชนในลักษณะ   กสม. ได้พิจารณาค�าร้องและรับฟังความเห็นจาก
            นี้อีก ต่อมาต�ารวจภูธรจังหวัดสมุทรปราการแจ้งว่าสั่งการ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�านักงานต�ารวจ
            ให้สถานีต�ารวจภูธรพระประแดงด�าเนินการตรวจสอบ  แห่งชาติ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน องค์การ
            และด�าเนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง  สงเคราะห์ทหารผ่านศึก กรมการปกครอง ส�านักงาน
            แก่เจ้าหน้าที่ต�ารวจในสังกัดที่กระท�าการอันเป็นการละเมิด  กิจการยุติธรรม ศูนย์รักษาความปลอดภัย ส�านักงาน
            สิทธิมนุษยชนแล้ว อีกทั้งได้ก�าชับเจ้าหน้าที่ต�ารวจในสังกัด คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ภาคธุรกิจเอกชน ได้แก่

            ให้ระมัดระวังในการส่งต่อภาพถ่ายของประชาชนที่ถูกจับกุม  สหพันธ์ธุรกิจรักษาความปลอดภัย สมาคมผู้ประกอบการ
            ด�าเนินคดีไม่ให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจหรือบุคคลภายนอก น�าภาพ  รักษาความปลอดภัย นักวิชาการ ตลอดจนพิจารณา
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ดังกล่าวไปเผยแพร่ต่อสาธารณะอันเป็นการกระทบ  หลักการ แนวคิด กฎหมายและมาตรฐานและแนวปฏิบัติ
            สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และ ด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องแล้ว มีข้อพิจารณา ดังนี้
            ครอบครัวของประชาชน หากมีผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกด�าเนินการ
            ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด      ๒.๑ การก�าหนดคุณสมบัติของพนักงานรักษาความ
                                                             ปลอดภัย ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา
            กรณีที่ ๔ เรื่อง สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ   ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๔ ข้อ ก. (๓)
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            กรณีกล่าวอ้างว่าพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย   มีความสอดคล้องกับหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชน
            พ.ศ. ๒๕๕๘ ก�าหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม ระหว่างประเทศและการรับรองเสรีภาพในการประกอบ

            ของพนักงานรักษาความปลอดภัยมีผลกระทบต่อ  อาชีพตามหลักการของรัฐธรรมนูญหรือไม่
            สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
                (รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๑๕๑ - ๑๕๒/๒๕๕๙ ลง       การที่พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย
            วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙) (ขอปรับแก้ไขข้อความตามที่   พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๔ ก. (๓) ก�าหนดให้พนักงานรักษา
            น.พ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ให้ความเห็นชอบแล้ว)     ความปลอดภัยรับอนุญาตต้องส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับ
                                                             ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ ผู้ร้องเห็นว่า

                มีผู้ร้องเรียนต่อ กสม. รวม ๒ ค�าร้อง กล่าวอ้างว่า  ก่อให้เกิดผลกระทบต่อพนักงานรักษาความปลอดภัย
            บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย  เดิมที่ไม่ส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับตามที่กฎหมาย
            พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๔ ข้อ ก. (๓) และข้อ ข. (๓)   ก�าหนดจ�านวนมากและผู้ที่จะสมัครเป็นพนักงานรักษา
            ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๙ ได้ก�าหนด ความปลอดภัยเอกชนด้วย ในขณะที่ผู้แทนหน่วยงาน
            คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของพนักงานรักษา  ที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นว่าพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา
            ความปลอดภัย เป็นบทบัญญัติที่ขัดแย้งต่อสิทธิและ ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ มีเจตนารมณ์เพื่อเสริมสร้าง
            เสรีภาพในการประกอบอาชีพของพนักงานรักษาความ ศักยภาพของพนักงานรักษาความปลอดภัย อันจะเป็น
            ปลอดภัยเดิม และกระทบต่อบริษัทรักษาความปลอดภัย   ประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการและช่วยเสริมสร้างความสงบ
            นอกจากนั้น บทนิยามของค�าว่า “ธุรกิจรักษาความปลอดภัย”   เรียบร้อยของสังคม การศึกษามีส่วนท�าให้พนักงาน
            ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว  รักษาความปลอดภัยเกิดความส�านึกความรับผิดชอบ

            มีลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติต่อพนักงานรักษา  และการตัดสินใจ ตลอดจนการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงาน
            ความปลอดภัยที่ให้บริการในธุรกิจรักษาความปลอดภัย รักษาความปลอดภัยยังต้องมีปฏิสัมพันธ์กับปัจจัย
            เอกชน  จึงขอให้  กสม.  มีข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข  หลายอย่าง การมีระดับการศึกษาจึงมีความจ�าเป็นกับการ
            พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘  ปฏิบัติหน้าที่
            ที่ละเมิดต่อหลักสิทธิมนุษยชน










       90
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97