Page 93 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 93
กสม. เห็นว่าเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติธุรกิจ กระท�าหรือก�าหนดเงื่อนไขลักษณะต้องห้ามดังกล่าวได้
รักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นไปเพื่อเสริมสร้าง และโดยที่การก�าหนดเงื่อนไขเช่นว่านั้นมิได้เป็นการปิดกั้น 1
ศักยภาพของพนักงานรักษาความปลอดภัยในการรักษา โดยสิ้นเชิง แต่ก�าหนดเฉพาะโทษที่อาจมีหรือสงสัยว่ามี
ความสงบเรียบร้อยของสังคม และเมื่อพิจารณาถึงมาตรฐาน ผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือไว้วางใจในการปฏิบัติหน้าที่ 2
ระหว่างประเทศ ได้แก่ แนวปฏิบัติระหว่างประเทศส�าหรับ ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเพียงระยะเวลาหนึ่ง
การให้บริการรักษาความปลอดภัยเอกชน (International เท่านั้น จึงกล่าวได้ว่าสอดคล้องกับเป้าหมายและหลักการ 3
Code of Conduct for Private Security Service ความได้สัดส่วน รวมทั้งไม่กระทบกระเทือนต่อสาระส�าคัญ
Provider : PSCs) ที่กล่าวถึงคุณสมบัติของพนักงาน แห่งสิทธิและเสรีภาพตามหลักการที่รัฐธรรมนูญแห่งราช
รักษาความปลอดภัยที่ให้ความส�าคัญกับมาตรฐานและ อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๙ บัญญัติไว้ 4
ทักษะในการท�างาน โดยไม่ได้ระบุถึงระดับการศึกษา
ซึ่ง กสม. มีความเห็นสอดคล้องว่า ระดับการศึกษามิได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาฐานความผิดที่ก�าหนดไว้ 5
เป็นหลักประกันว่าผู้ที่ส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับจะปฏิบัติ ในมาตรา ๓๔ ข. (๓) โดยค�านึงถึงคุณธรรมทางกฎหมาย
หน้าที่รักษาความปลอดภัยโดยมีส�านึกความรับผิดชอบ ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ หรือสิ่งที่เป็นคุณค่าแตกต่างกัน เช่น
และมีประสิทธิผล ประกอบกับการก�าหนดเงื่อนไข ความผิดเกี่ยวกับชีวิต คุณธรรมทางกฎหมายคือชีวิตมนุษย์
ในการท�างานนั้น กฎหมายระหว่างประเทศก�าหนดว่า ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์หรือลักทรัพย์ธรรมดา คุณธรรม
เงื่อนไขในการก�าหนดคุณสมบัตินั้นต้องจ�าเป็นหรือ ทางกฎหมายคือกรรมสิทธิ์และการครอบครอง เป็นต้น
เกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับลักษณะงานที่ปฏิบัติหน้าที่นั้นด้วย ดังนั้น ฐานความผิดที่ก�าหนดไว้ในมาตรา ๓๔ ข. (๓)
(Inherent Requirement Exception) ดังนั้น การก�าหนด ที่ก�าหนดระยะเวลาจ�ากัดสิทธิในการท�างานสามปีเท่ากัน
คุณวุฒิการศึกษาตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จึงไม่ นั้น ยังไม่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักคุณธรรม
สอดคล้องกับหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ทางกฎหมายข้างต้น จึงเห็นควรให้มีการทบทวน
และการรับรองเสรีภาพในการประกอบอาชีพตามหลักการ ความเหมาะสมในเรื่องระยะเวลาดังกล่าว
ของรัฐธรรมนูญ จึงเห็นควรให้มีการทบทวน โดยยกเลิก
การก�าหนดคุณสมบัติดังกล่าว ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและเสนอแนะนโยบาย
กสม. เห็นควรมีข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและ
๒.๒ การก�าหนดลักษณะต้องห้ามของพนักงานรักษา ข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี โดยส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ
ความปลอดภัย ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ และคณะกรรมการก�ากับธุรกิจรักษาความปลอดภัย
ธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๔ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และภาคธุรกิจรักษา ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข้อ ข. (๓) มีความสอดคล้องกับเป้าหมายและหลัก ความปลอดภัยเอกชน ตามมาตรา ๑๕ (๓) แห่งพระราชบัญญัติ
ความได้สัดส่วนและไม่กระทบกระเทือนสาระส�าคัญ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังนี้
แห่งสิทธิและเสรีภาพหรือไม่
ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
ประเด็นที่ต้องพิจารณา คือ การก�าหนดลักษณะ ๑) โดยที่กฎหมายได้ก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับ
ต้องห้ามของผู้ที่เคยได้รับโทษจ�าคุกบางฐานความผิด ใบอนุญาตเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัย มีข้อก�าหนด
เป็นการก�าหนดเงื่อนไขที่จ�าเป็นหรือเกี่ยวข้องอย่างยิ่ง บางประการที่ยังไม่สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ
กับลักษณะงานของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหรือไม่ ด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตามและ
ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย จึงมีข้อเสนอ ดังนี้
โดยที่แนวปฏิบัติระหว่างประเทศส�าหรับการให้บริการ ๑.๑ ควรทบทวนการก�าหนดคุณสมบัติเรื่องการ
รักษาความปลอดภัยเอกชน (PSCs) ก็ได้ให้ความส�าคัญ ส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับตามกฎหมายว่าด้วย
กับการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมของผู้ที่จะให้บริการ การศึกษาภาคบังคับ ในมาตรา ๓๔ ก. (๓) แห่ง
รักษาความปลอดภัยเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.
ธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ สามารถที่จะ ๒๕๕๘
91