Page 99 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 99

ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลตนเอง เว้นแต่ผู้ป่วย  กสม. พิจารณาแล้วเห็นว่า ประเด็นการใช้พาราควอต
              จะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ของ  เป็นสารเคมีป้องกันก�าจัดศัตรูพืชในภาคการเกษตรเป็น    1
              ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อประโยชน์โดยตรงของ เรื่องการก�าหนดนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสีย
              ผู้ป่วย หรือตามกฎหมาย นอกจากนี้ยังส่งเสริมการปฏิบัติ หลายฝ่าย แม้ว่าพาราควอตมีความเป็นพิษโดยตัวของ   2
              ตามประกาศคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกัน สารเคมี ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและ
              และแก้ไขปัญหาเอดส์ เรื่อง แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วย  เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ก็มีความเห็นและวิธี  3
              การป้องกันและบริการจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ การบริหารจัดการที่แตกต่างกันไปบนพื้นฐานของข้อมูล

              ท�างาน ซึ่งเป็นมาตรการที่ส่งเสริมให้หน่วยงานสนับสนุน  ทางวิชาการและข้อเท็จจริงที่ไม่สอดคล้องและขาดการรับฟัง
              การด�าเนินงานในการป้องกัน  ดูแล  และคุ้มครอง  ซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดปัญหาระบบบริหารจัดการที่มี     4
              สิทธิบุคลากรในหน่วยงานให้ปลอดภัยจากเอชไอวี  ความทับซ้อนและขาดความเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกัน
              ด้วยความสมัครใจ รวมถึงจัดท�าแนวทางการบริการปรึกษา  กลายเป็นช่องว่างที่ท�าให้ไม่สามารถก�ากับดูแลและ   5
              และตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี ส�าหรับสถานบริการ ควบคุมการใช้พาราควอตได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม
              สุขภาพ เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิผู้ป่วยให้กับบุคลากร/ ปัญหาดังกล่าวยังรวมไปถึงวัตถุอันตรายอื่น ๆ ที่ใช้เป็น
              เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน  สารป้องกันก�าจัดศัตรูพืชด้วย เช่น ไกลโฟเสต (สารก�าจัด
                                                               วัชพืช)  และคลอร์ไพรีฟอส  (สารเคมีก�าจัดแมลง)
              กรณีที่ ๗ เรื่อง สิทธิในชีวิตและร่างกาย อันเกี่ยวเนื่อง  เป็นต้น ประกอบกับกลไกการควบคุมวัตถุอันตรายตาม

              กับสิทธิผู้บริโภค กรณีคัดค้านการต่ออายุใบส�าคัญ  พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังไม่อาจ
              การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายพาราควอต (paraquat)  ขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ขาดการยอมรับ
              ของกรมวิชาการเกษตร                               และไม่ครอบคลุมทุกประเด็นปัญหาโดยเฉพาะมิติด้าน
                 (รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๓๑/๒๕๖๒)              เกษตรกรรมที่ยั่งยืนควบคู่กับการคุ้มครองผู้บริโภคและ
                 กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนจากสมาคมสหพันธ์องค์กร สิ่งแวดล้อม เนื่องจากปัจจุบันการใช้พาราควอตในภาค
              ผู้บริโภคและมูลนิธิเพื่อผู้บริโภคเพื่อขอให้ตรวจสอบกรณี การเกษตรมีความเกี่ยวพันโดยตรงต่อสุขภาพอนามัยและ
              กล่าวอ้างว่า เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๐ กรมวิชาการ วิถีชีวิตของเกษตรกรและประชาชนทั่วไป ซึ่งเป็นหน้าที่

              เกษตรในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการขึ้นทะเบียน ของรัฐที่จะต้องด�าเนินการให้ประชาชนทุกคนสามารถ
              และควบคุมการผลิต น�าเข้า ส่งออก และจ�าหน่ายวัตถุ ด�ารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ
              อันตรายทางการเกษตร ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย  สุขภาพ โดยการก�าหนดนโยบาย มาตรการหรือกลไก
              พ.ศ. ๒๕๓๕ ด�าเนินการต่ออายุใบส�าคัญการขึ้นทะเบียน ต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและสอดประสานกัน เพื่อช่วย  ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              วัตถุอันตรายพาราควอต (paraquat) ซึ่งเป็นวัตถุอันตราย ให้เกษตรกรสามารถประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมี
              ชนิดที่ ๓ โดยไม่รอผลการพิจารณาของคณะกรรมการวัตถุ  ประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มีปริมาณและคุณภาพสูง
              อันตรายที่อาจจะประกาศห้ามใช้ อันจะน�าไปสู่การ  มีความปลอดภัย ในขณะที่ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะ
              ขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายพาราควอตเป็นวัตถุอันตราย  ในฐานะผู้บริโภคปลอดภัยจากอันตรายของสารเคมีและ
              ชนิดที่ ๔ ที่ห้ามมิให้มีการผลิต การน�าเข้า การส่งออก หรือ ได้รับรู้ข้อมูลที่เป็นจริง รวมทั้งเป็นการลดผลกระทบสะสม

              การมีไว้ในครอบครอง ทั้งที่ คณะกรรมการขับเคลื่อนปัญหา ที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม
              การใช้สารเคมีป้องกันก�าจัดศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง
              ในคราวประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน    นอกจากนี้ เมื่อปรากฏว่าการใช้สารเคมีทางการเกษตร
              ๒๕๖๐  ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข  ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและ
              เป็นประธานการประชุม ได้มีมติเห็นชอบในหลักการ  เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม รัฐจะต้องด�าเนินการ
              ร่างแผนปฏิบัติการลด ละ เลิกใช้สารเคมีป้องกันก�าจัด เพื่อให้เกิดการเยียวยาที่เหมาะสมและเป็นธรรม
              ศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง ๓ ชนิด เป็นการด�าเนินการ  ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ถึงแม้ว่าการใช้พาราควอต

              ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดภาวะอันตราย ในภาคการเกษตรจะเป็นเสรีภาพในการประกอบอาชีพของ
              ต่อสุขภาพของประชาชน                              บุคคลตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย



                                                                                                                 97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104