Page 100 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 100

พุทธศักราช ๒๕๖๐ แต่รัฐธรรมนูญก็ได้บัญญัติให้รัฐต้อง  ๓.  คณะรัฐมนตรีควรจัดให้มีกฎหมายเฉพาะว่าด้วย
            ดูแลและส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี อันสอดคล้อง การควบคุมสารเคมีทางการเกษตร โดยพิจารณาประกอบ
            กับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม  ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยจากการใช้สารป้องกัน
            และวัฒนธรรม ที่ก�าหนดให้รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรอง และก�าจัดศัตรูพืช พ.ศ. …. ซึ่งจัดท�าโดยคณะท�างาน
            สิทธิของทุกคนที่จะมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตตาม ขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กลุ่มมติเกษตร
            มาตรฐานสูงสุดเท่าที่เป็นได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครอง  และอาหารปลอดภัย ภายใต้คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน
            ผู้บริโภคและเพื่อประโยชน์สาธารณะ และเพื่อให้การแก้ไข และติดตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ร่วมกับเครือข่าย
            ปัญหาการใช้พาราควอตในภาคการเกษตรในระยะยาว ด้านสาธารณสุขและองค์กรภาคประชาสังคม

            อันจะน�าไปสู่ความยั่งยืนในทุกมิติ จึงให้มีข้อเสนอแนะ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง  ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
            สิทธิมนุษยชน รวมตลอดทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย      ๑.  ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งว่า รองนายก
            กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลัก  รัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและปฏิบัติราชการ
            สิทธิมนุษยชนต่อคณะรัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและ แทนนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุข
            สหกรณ์ และคณะกรรมการวัตถุอันตราย ตามรัฐธรรมนูญ เป็นหน่วยงานหลักรับเรื่องนี้ไปพิจารณาร่วมกับกระทรวง
            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗  เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงาน
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            (๓) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย  ที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของ
            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  พ.ศ.๒๕๖๐   ข้อเสนอแนะดังกล่าว โดยให้กระทรวงสาธารณสุข

            มาตรา ๒๖ (๓) และมาตรา ๔๒ ดังนี้                  สรุปผลการพิจารณาผลการด�าเนินการดังกล่าว ในภาพรวม
                                                             แล้วส่งให้ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อน�าเสนอ
            ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ คณะรัฐมนตรีต่อไป
            คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
            กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับ      ๒.  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการ
            หลักสิทธิมนุษยชน                                 เกษตร และกระทรวงอุตสาหกรรมแจ้งผลด�าเนินการ
                ๑.  คณะกรรมการวัตถุอันตรายซึ่งมีอ�านาจหน้าที่ สอดคล้องกันว่า คณะกรรมการวัตถุอันตรายในการประชุม

            ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ควรก�าหนด เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ มีมติให้จ�ากัดการใช้
            ให้พาราควอตเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ ๔ ตามพระราช วัตถุอันตรายพาราควอตคลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต
            บัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๘ โดยห้าม  แล้ว โดยให้ความเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงเกษตร
            มิให้มีการผลิต การน�าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน และสหกรณ์เพื่อจ�ากัดการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส
            ครอบครอง                                         และไกลโฟเซต ซึ่งร่างประกาศฯ ได้ก�าหนดให้เกษตรกร
                                                             ผู้ใช้สารจะต้องผ่านการอบรม ก�าหนดหน้าที่ของผู้ขาย
                ๒.  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ควรแก้ไขปัญหา  ก�าหนดชนิดพืชและพื้นที่ใช้สาร ให้ผู้ผลิตผู้น�าเข้า ผู้ขาย
            การใช้สารเคมีทางการเกษตรทุกชนิดในระยะยาว   ต้องแจ้งข้อมูลให้ทราบ เป็นต้น มอบหมายให้กรมวิชาการ
            โดยการจัดท�ามาตรการและกรอบระยะเวลาที่ชัดเจน เกษตรเร่งด�าเนินการจัดท�าแผนปฏิบัติการเร่งรัดขยาย

            ในการควบคุมการใช้หรือการเลิกใช้สารเคมีในภาค การท�าการเกษตรดีที่เหมาะ (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์
            การเกษตรทุกชนิดที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ทาง (Organic Farming) ให้ครอบคลุมทั้งประเทศให้ได้ภายใน
            วิทยาศาสตร์บ่งบอกถึงอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ๒ ปี และร่วมกับหน่วยงานภาควิชาการหรือภาคเอกชน
            และสิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันจะต้องพัฒนาทางเลือก ศึกษาวิจัยหานวัตกรรมในการก�าจัดวัชพืชและศัตรูพืช
            ด้านสารชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตร  และแนะน�าเกษตรกรให้ใช้สารชีวภัณฑ์ในการก�าจัด
            ที่ยั่งยืนส�าหรับเกษตรกรอย่างเป็นระบบและจริงจัง   ศัตรูพืชเพื่อเป็นการลดการใช้สารเคมีให้ได้ภายใน ๒ ปี
                                                             เช่นกัน และให้ด�าเนินการเผยแพร่ ให้ความรู้ ความเข้าใจ

                                                             ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารการใช้เครื่องพ่นสาร



       98
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105