Page 88 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 88
ส�าหรับสาระส�าคัญโดยย่อของรายงานผลการตรวจสอบ กสม. พิจารณาแล้วเห็นว่า ความเสียหายที่บุตรชาย
การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญในบางกรณี และการ ผู้ร้องกับพวกได้รับเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่น�าตัวบุตรชาย
ด�าเนินการตามข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่ ผู้ร้องกับพวกออกไปภายนอกเรือนจ�าเท่านั้น และเป็นผล
เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน มาจากพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้อ�านาจ
รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับการเสียหายจากการถูกละเมิด ผู้ถูกร้องจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องขังได้ การใช้
สิทธิมนุษยชนที่ กสม. แจ้งไปยังหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ตรวนแม้จะก่อให้เกิดผลเสียหายบ้าง แต่สิทธิและเสรีภาพ
ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง ของบุตรชายผู้ร้องกับพวกมิได้หายไปอย่างสิ้นเชิง ดังนั้น
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมตลอดทั้ง การที่ผู้ถูกร้องใช้เครื่องพันธนาการประเภทตรวน แก่บุตรชาย
การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง เพื่อให้ ผู้ร้องกับพวกอีก ๗ คนในระหว่าง การคุมตัวออกไปภายนอก
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ที่ กสม. เสนอต่อรัฐสภา เรือนจ�า จึงยังไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุตรชาย
คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีดังนี้ ๒๐ ผู้ร้องกับพวก จึงมีมติให้ยุติเรื่อง อย่างไรก็ตามการใช้
เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง แม้จะมีกฎหมายราชทัณฑ์
กรณีที่ ๑ เรื่อง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิเสรีภาพ ก�าหนดประเภทและเงื่อนไขการใช้เครื่องพันธนาการไว้
ในร่างกาย กรณีกล่าวอ้างว่าการปฏิบัติโดยใช้ แต่กฎหมายดังกล่าวมีลักษณะเป็นการเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังในระหว่างการคุมตัว ของรัฐใช้ดุลพินิจเลือกใช้เครื่องพันธนาการโดยมิได้
ไปศาลเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ก�าหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นแนวทางก�ากับ
(รายงานผลการตรวจสอบที่ ๒๘๓/๒๕๖๑) การใช้ดุลพินิจว่าเมื่อใดเป็นกรณีมีเหตุจ�าเป็นหรือมีเหตุ
กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณีกล่าว สมควรที่จะใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง ซึ่งอาจก่อให้เกิด
อ้างว่า บุตรชายผู้ร้อง กับพวกอีก ๗ คน เป็นผู้ต้องขัง กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ดุลพินิจเกินขอบเขตและ
ในความควบคุมของเรือนจ�าอ�าเภอพล ซึ่งอยู่ระหว่าง ความจ�าเป็นตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย อันเป็นการลดทอน
การพิจารณาคดีของศาลจังหวัดพล ในคดีความผิดฐาน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ ร่วมกันท�าให้เสียทรัพย์ ของผู้ต้องขังเกินสมควรได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครอง
อั้งยี่ ซ่องโจร และความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา สิทธิของบุคคลจากการใช้อ�านาจโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ และ
มาตรา ๑๑๒ จากเหตุเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ ๙ ป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อ�านาจเกินขอบเขต และ
ในอ�าเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น บุตรชายผู้ร้องกับพวก เงื่อนไขที่กฎหมายก�าหนด จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการ
ถูกจับกุมและน�าตัวมาฝากขังที่เรือนจ�าอ�าเภอพล พนักงาน หรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไข การละเมิด
สอบสวน ได้สรุปส�านวนพร้อมความเห็นควรสั่งฟ้องผู้ต้องหา สิทธิมนุษยชนต่อกรมราชทัณฑ์ ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ทั้งแปดเสนอพนักงานอัยการจังหวัดพล โดยพนักงาน ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๑)
อัยการจังหวัดพลได้ยื่นฟ้องคดีต่อศาลจังหวัดพลซึ่งนัด และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะ
พร้อมเพื่อสอบค�าให้การและตรวจพยานหลักฐานเมื่อวันที่ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖
๒ ตุลาคม ๒๕๖๐ ในการคุมตัวบุตรชายผู้ร้องกับพวกอีก (๑) และให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการ
๗ คนไปศาลจังหวัดพล ผู้ถูกร้องได้ใส่ตรวนแก่บุตรชาย ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อกระทรวงยุติธรรม
ผู้ร้องกับพวก และไม่อนุญาตให้บุตรชายผู้ร้องกับพวก และส�านักงานศาลยุติธรรม ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ผูกเชือกส�าหรับดึงโซ่ตรวนเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคแก่การเดิน ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓)
รวมทั้งไม่อนุญาตให้ใส่ถุงเท้าเพื่อป้องกันการเสียดสีระหว่าง และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะ
ตรวนกับข้อเท้า ผู้ร้องเห็นว่าการกระท�าของผู้ถูกร้อง กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖
เป็นการปฏิบัติที่โหดร้ายและละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (๓) ประกอบมาตรา ๔๒ ดังนี้
ของผู้ต้องขังในคดีที่ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
๒๐ ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, “รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกรณีต่าง ๆ ”, ส�านักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สืบค้นเมื่อ ๕ มีนาคม ๒๕๖๔, https://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Examination-reports/18911.aspx.
86