Page 89 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 89

ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการ พิจารณาการใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังให้เป็นไป
              ป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน            ตามกฎหมาย และไม่ขัดกับพระราชบัญญัติราชทัณฑ์         1
                 (๑) กรมราชทัณฑ์ควรก�าชับเรือนจ�าและทัณฑสถาน พ.ศ. ๒๕๖๐
              ทุกแห่งให้ถือปฏิบัติตามหนังสือสั่งการของกรมราชทัณฑ์    (๒) ส�านักงานศาลยุติธรรม แจ้งว่า ตามพระราชบัญญัติ   2
              ที่ ยธ ๐๗๐๕/ว๓๘ ลงวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ เรื่อง  ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑ การใช้เครื่องพันธนาการ
              แนวทางปฏิบัติในการใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขัง กับผู้ต้องขังมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมไม่ให้ผู้ต้องขังที่มี   3
              อย่างเคร่งครัด ในระหว่างที่ยังไม่มีกฎกระทรวงซึ่งออกตาม  พฤติกรรมส่อว่าเป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตไม่สมประกอบ

              ความในมาตรา  ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์   ซึ่งอาจท�าอันตรายต่อชีวิตร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
              พ.ศ. ๒๕๖๐ มาใช้บังคับ และควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่  หรือมีพฤติกรรมที่น่าจะหลบหนีการควบคุม อันจ�าเป็น     4
              ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในการสั่ง ต่อการใช้เครื่องพันธนาการ จึงเห็นว่าการใช้เครื่อง
              ใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังอย่างถูกต้องและเหมาะสม  พันธนาการยังไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ   5
              กับความจ�าเป็น โดยค�านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และ  ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วย
              สิทธิเสรีภาพในชีวิตและร่างกายของผู้ต้องขังด้วย โดยเฉพาะ  การรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๗ (๔) (๕)
              ผู้ต้องขังซึ่งศาลยังไม่มีค�าพิพากษาถึงที่สุดว่ากระท�าความผิด   และข้อ ๘ (ข) ได้ก�าหนดมาตรการเกี่ยวกับอาคารสถานที่
              จะปฏิบัติต่อผู้นั้นเสมือนเป็นผู้กระท�าความผิดมิได้   เพื่อความเหมาะสมในการรักษาความปลอดภัย โดยได้ก�าหนด
                                                               ช่องทางเข้าออกอย่างเป็นระบบส�าหรับรถราชทัณฑ์

                 (๒) กรมราชทัณฑ์ควรพิจารณาก�าหนดหลักเกณฑ์ ที่มีหน้าที่รับส่งผู้ต้องคุมขังให้แยกช่องทางเข้าออกและที่จอดรถ
              และเงื่อนไขการใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังให้ชัดเจน พิเศษให้ใกล้กับห้องคุมขัง และจัดให้มีรั้วเหล็กกั้นโดยรอบ
              ยิ่งขึ้น โดยน�าพฤติการณ์แห่งคดีและความรุนแรงในการ  อาคารศาลยุติธรรม เพื่อป้องกันบุคคลมิให้เข้าใกล้อาคาร
              กระท�าความผิด รวมทั้งพฤติกรรมของผู้ต้องขังขณะที่  อีกทั้ง ได้ก�าหนดช่องทางเดินภายในอาคารศาลยุติธรรม
              อยู่ภายในเรือนจ�ามาพิจารณา เพื่อป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่ อย่างเป็นสัดส่วนส�าหรับผู้พิพากษา ผู้ต้องหาหรือจ�าเลย
              ใช้ดุลพินิจเกินกว่าความจ�าเป็น ในการควบคุมผู้ต้องขัง  และผู้มาติดต่อไม่ให้ปะปนกัน ส�าหรับกรณีที่ กสม. เสนอให้
              และควรพิจารณาใช้เครื่องพันธนาการประเภทอื่นทดแทน จัดให้มีช่องทางเดินส�าหรับผู้ต้องขังเป็นการเฉพาะนั้น

              เครื่องพันธนาการประเภทตรวน เช่น กุญแจมือ กุญแจเท้า  ส�านักงานศาลยุติธรรมได้ประสานไปยังศาลจังหวัดพล
              หรือชุดกุญแจมือและกุญแจเท้าเพื่อคุ้มครองบุคคลมิให้  เกี่ยวกับช่องทางเดินระหว่างที่จอดรถไปยังห้องควบคุม
              ถูกกระท�าในลักษณะลดทอนหรือละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์   ของศาล ได้รับแจ้งว่า ปัจจุบันศาลจังหวัดพลมีการก่อสร้าง
              และในกรณีที่จ�าเป็นต้องใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง  อาคารที่ท�าการศาลหลังใหม่ ซึ่งอยู่บริเวณด้านหลังอาคาร ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              ควรพิจารณาอนุญาตหรือจัดให้มีเครื่องป้องกันมิให้เกิดอันตราย ที่ท�าการศาลเดิม ท�าให้รถราชทัณฑ์ที่น�าตัวผู้ต้องขังมาศาล
              หรือบาดแผลจากการใช้เครื่องพันธนาการ ตามสมควรได้   ไม่สามารถจอดรถบริเวณใกล้ห้องควบคุมได้ จึงต้องเปลี่ยน
                                                               จุดจอดรถเป็นบริเวณด้านข้างอาคารที่ท�าการศาล และ
              ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ ให้ผู้ต้องขังเดินเข้าประตูด้านข้างอาคารที่ท�าการ ศาลไปยัง
              คุ้มครองสิทธิมนุษยชน                             ห้องควบคุม ระยะทางประมาณ ๕๐ เมตร โดยมีเจ้าหน้าที่

                 กระทรวงยุติธรรม และส�านักงานศาลยุติธรรมควร  ฝ่ายควบคุมรักษาความปลอดภัย อย่างไรก็ตาม หากอาคาร
              พิจารณาจัดให้มีช่องทางเดินส�าหรับ ผู้ต้องขังเป็นการเฉพาะ   ที่ท�าการหลังใหม่เสร็จ จะมีการปรับปรุงห้องควบคุม
              เพื่อความสะดวกในการคุมตัวผู้ต้องขังตั้งแต่ทางเดินระหว่าง โดยแยกห้องควบคุมชายและหญิงออกจากกันเพื่อให้เป็นไป
              ที่จอดรถไปยังห้องควบคุมตัวที่ศาลอันจะช่วยป้องกันการ  ตามระเบียบฯ และการเคลื่อนย้ายผู้ต้องขังจะกลับมาใช้
              ใช้เครื่องพันธนาการที่เกินสมควร                  จุดจอดรถเดิมซึ่งอยู่ใกล้ห้องควบคุมโดยมีระยะทางจากที่
                                                               จอดรถไปยังห้องควบคุมประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร อันเป็น
              ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  การสะดวกแก่การเคลื่อนย้ายผู้ต้องขัง เพื่อให้เป็นไปตาม

                 (๑) กรมราชทัณฑ์ แจ้งว่า ได้มีหนังสือก�าชับเรือนจ�า  ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการรักษา
              เกี่ยวกับการใช้เครื่องพันธนาการแก่ ผู้ต้องขังให้เป็นไปตาม  ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๗ (๔) (๕) และข้อ ๘ (ข)
              กฎหมายแล้ว โดยสั่งการให้เรือนจ�า/ทัณฑสถานทั่วประเทศ

                                                                                                                 87
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94