Page 44 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 44
การปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล ความเห็น ผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน กรณีจึงไม่ตรงตาม
และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องที่จ�าเป็นต้องใช้ประกอบ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๔๖ วรรคสี่
การพิจารณาและด�าเนินการตามหน้าที่และอ�านาจ
ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมาย กสม. จึงมีข้อเสนอให้การสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชน
โดยก�าหนดให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้จัดท�า แห่งชาติ ในกรณีมีผู้ด�ารงต�าแหน่งกรรมการสรรหาไม่ครบ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฯ แล้วเสนอต่อ ไม่ว่ากรณีใด อย่างน้อยจะต้องมีกรรมการสรรหาในส่วน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ของผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนตามมาตรา ๑๑
(๔) เสมอ ซึ่งต่อมาร่าง พ.ร.ป. กสม. มาตรา ๑๑ วรรคห้า
ต่อมาคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้จัดท�าร่าง ก็ได้รับการแก้ไข โดยก�าหนดให้ในกรณีที่พ้นก�าหนดเวลา
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ เลือกกรรมการสรรหาตาม (๖) แล้ว ยังไม่มีผู้ด�ารงต�าแหน่ง
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.... (ร่าง พ.ร.ป. กสม.) เสนอ ตาม (๒) (๕) หรือ (๖) หรือมีไม่ครบไม่ว่าด้วยเหตุใด และมี
ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยได้มีมติให้ความเห็นชอบ ผู้ด�ารงต�าแหน่งกรรมการสรรหาตาม (๔) อย่างน้อยหนึ่งคน
ร่างกฎหมายดังกล่าว เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการสรรหาเท่าที่มีอยู่ปฏิบัติหน้าที่และ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใช้อ�านาจไปพลางก่อนได้
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
มาตรา ๒๖๗ วรรคห้า ก�าหนดให้ เมื่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
พิจารณาแล้วเสร็จ ให้ส่งร่าง พ.ร.ป. ให้ศาลรัฐธรรมนูญ ๒) หน้�ที่และอำ�น�จในก�รชี้แจงและร�ยง�นข้อเท็จจริง
หรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาถึงความตรงตาม ที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้�ในกรณีที่มีก�รร�ยง�น
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ซึ่ง กสม.ได้เข้าไปมีส่วนร่วม สถ�นก�รณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ
ในการพิจารณาให้ความเห็นต่อร่าง พ.ร.ป. กสม. ทั้งใน โดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม
ขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
และในขั้นตอนการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๕ วรรคหนึ่ง ได้ก�าหนดให้องค์กร
รวมทั้งการให้ความเห็นต่อข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ อิสระเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยให้มีความอิสระในการ
วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ปฏิบัติหน้าที่ และมาตรา ๒๔๗ (๔) ก�าหนดให้ กสม.
ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... โดย มีหน้าที่และอ�านาจในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริง
กสม. ได้มีความเห็นในประเด็นที่ส�าคัญ ดังนี้ ที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือ
๑) องค์ประกอบของคณะกรรมก�รสรรห� ไม่เป็นธรรม แต่การที่ร่าง พ.ร.ป. กสม. มาตรา ๔๔ ก�าหนดให้
โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ในกรณีที่ความปรากฏต่อคณะกรรมการไม่ว่าโดยทาง
๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๖ วรรคสี่ ได้ก�าหนดให้บทบัญญัติ ใดว่ามีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
เกี่ยวกับการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม คณะกรรมการ
จะต้องก�าหนดให้ผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน ต้องตรวจสอบและชี้แจงหรือจัดท�ารายงานข้อเท็จจริง
มีส่วนร่วมในการสรรหาด้วย แต่การที่ร่าง พ.ร.ป. กสม. ที่ถูกต้องของสถานการณ์นั้นโดยไม่ชักช้า นั้น เป็นการจ�ากัด
มาตรา ๑๑ วรรคห้า ก�าหนดให้ในกรณีที่พ้นก�าหนดเวลา การใช้ดุลพินิจของ กสม. ในการพิจารณาว่าเรื่องใดสมควร
เลือกกรรมการสรรหาตาม (๖) แล้ว ยังไม่มีผู้ด�ารงต�าแหน่ง จะต้องตรวจสอบและชี้แจง เนื่องจากการบัญญัติกฎหมาย
ตาม (๒) (๔) (๕) หรือ (๖) หรือมีไม่ครบไม่ว่าด้วยเหตุใด ในลักษณะดังกล่าวจะท�าให้ กสม. ต้องด�าเนินการตรวจสอบ
ให้คณะกรรมการสรรหาเท่าที่มีอยู่ปฏิบัติหน้าที่และ และชี้แจงทุกกรณี ซึ่งเป็นการบัญญัติกฎหมายที่เกินกว่า
ใช้อ�านาจไปพลางก่อนได้ นั้น หากปรากฏข้อเท็จจริงว่า ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
เมื่อพ้นก�าหนดเวลาเลือกกรรมการสรรหาตาม (๖) แล้ว มาตรา ๒๔๗ (๔) ก�าหนดไว้ อีกทั้งย่อมท�าให้การปฏิบัติ
แต่ยังไม่มีกรรมการสรรหาในส่วนของผู้แทนองค์กรเอกชน หน้าที่ของ กสม. ตกอยู่ภายใต้อ�านาจของฝ่ายบริหาร
ด้านสิทธิมนุษยชนตาม (๔) คณะกรรมการสรรหาเท่าที่มีอยู่ อันไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๑๕
จะต้องด�าเนินการสรรหาไปโดยขาดการมีส่วนร่วมของ วรรคหนึ่ง ที่ต้องการให้ กสม. ซึ่งเป็นองค์อิสระตาม
รัฐธรรมนูญ มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
42