Page 39 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 39

ในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน   (๒) ส่งเสริมและเผยแพร่ให้เด็ก  เยาวชน  และ
                     รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการ      ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนของ       1
                     ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงานของรัฐหรือ          แต่ละบุคคลที่ทัดเทียมกัน และการเคารพใน
                     เอกชนที่เกี่ยวข้อง                               สิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่นซึ่งอาจแตกต่างกัน    2
                 (๒) จัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้าน            ในทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และศาสนา
                     สิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอต่อรัฐสภาและ        (๓) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงาน           3
                     คณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ต่อประชาชน                 ระหว่างหน่วยงานของรัฐองค์กรเอกชนและ

                 (๓) เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริม            องค์การระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน
                     และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี     (๔) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการ   4
                     และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งการแก้ไข     ที่ประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีหรือการปฏิบัติตาม
                     ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือค�าสั่งใด ๆ         หนังสือสัญญาเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครอง  5
                     เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน              สิทธิมนุษยชน
                 (๔) ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่   (๕) ออกระเบียบหรือประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม
                     ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ     พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
                     สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือ     (๖) หน้าที่และอ�านาจอื่นตามที่ก�าหนดไว้ใน
                     ไม่เป็นธรรม                                      พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้หรือ

                 (๕) สร้างเสริมทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึง        กฎหมายอื่น
                     ความส�าคัญของสิทธิมนุษยชน
                 (๖) หน้าที่และอ�านาจอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ   ๑.๓ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้�ประสงค์
                                                               และยุทธศ�สตร์

                 เมื่อรับทราบรายงานตาม (๑) และ (๒) หรือข้อเสนอแนะ
              ตาม (๓) ให้คณะรัฐมนตรีด�าเนินการปรับปรุงแก้ไข       กสม. ชุดที่ ๓ ได้เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์คณะ
              ตามความเหมาะสมโดยเร็ว กรณีใดไม่อาจด�าเนินการได้  กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕

              หรือต้องใช้เวลาในการด�าเนินการให้แจ้งเหตุผลให้  ซึ่งเป็นแผนยุทธศาสตร์ ฉบับที่ ๓ ก�าหนดวิสัยทัศน์
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทราบโดยไม่ชักช้า   พันธกิจ เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ ดังนี้


                 ในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน        วิสัยทัศน์ เป็นสถาบันอิสระในการร่วมสร้างสังคม   บทนำ�
              แห่งชาติต้องค�านึงถึงความผาสุกของประชาชนชาวไทย ให้เคารพสิทธิมนุษยชน
              และผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นส�าคัญด้วย
                                                                  พันธกิจ
              หน้าที่และอ�านาจตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐                ๑.  ด�าเนินงานให้เกิดการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
              มาตรา ๒๗                                                กฎหมาย  พันธกรณีระหว่างประเทศด้าน

                 มาตรา  ๒๗  เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่          สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตาม
              ตามมาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่และอ�านาจ         ๒.  ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนัก
              ดังต่อไปนี้ด้วย                                         ในหลักสิทธิมนุษยชน แก่ทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
                 (๑) ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือแก่บุคคล หน่วยงาน    และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างเท่าเทียมกัน
                     ของรัฐ และภาคเอกชนในการศึกษา วิจัย และ       ๓.  ท�างานร่วมกับทุกภาคส่วนในลักษณะเครือข่าย
                     เผยแพร่ความรู้และพัฒนาความเข้มแข็งด้าน           อย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการปฏิบัติงาน
                     สิทธิมนุษยชน รวมตลอดทั้งในการให้ความช่วยเหลือ    ที่มีมาตรฐาน

                     หรือเยียวยาแก่ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน       ๔.  ประสานความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชน
                                                                      ระดับนานาชาติ



                                                                                                                 37
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44