Page 40 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 40

เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์    ที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตาม  และ
            และพันธกิจ กสม. ชุดที่ ๓ จึงได้ก�าหนดเป้าประสงค์            การปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับ
            และยุทธศาสตร์ส�าหรับการด�าเนินงานในช่วงปี พ.ศ.              หลักสิทธิมนุษยชน
            ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ดังนี้                                      ๒.  กสม.  มีประสิทธิภาพในการท�างาน โดยเฉพาะ
                •  เป้าประสงค์หลัก ทุกภาคส่วนของสังคมมีความรู้          การท�างานเชิงรุกและเน้นประเด็นส�าคัญที่มี
                    ความเข้าใจและตระหนักถึงสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง         ผลกระทบต่อสังคมทั้งด้านการส่งเสริมและ
                    ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ           คุ้มครองสิทธิมนุษยชน

                    ความเสมอภาค                                     ๓.  กสม. มีความเข้มแข็งทางวิชาการเพื่อเป็น
                •  เป้าประสงค์รอง                                       สถาบันหลักในด้านสิทธิมนุษยชน
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
                    ๑.  ข้อเสนอแนะของ กสม. เกิดผลให้มีและ           ๔.  การด�าเนินงานของ กสม. ได้รับความเชื่อมั่น
                       เปลี่ยนแปลงในด้านนโยบายของรัฐบาล                 จากประชาชนสูงยิ่งขึ้น
                       ตลอดจนการตรากฎหมายเพื่ออนุวัติการ            ๕.  การยกสถานะ  กสม.  ให้เป็นที่ยอมรับ
                       ตามพันธกรณีหลักด้านสิทธิมนุษยชน                  ในระดับนานาชาติ


            ยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
                เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ก�าหนด กสม. ได้ก�าหนดยุทธศาสตร์ที่จะด�าเนินการในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ดังต่อไปนี้



                ยุทธศ�สตร์ที่ ๑


               ส่งเสริมและติดตามให้ทุกภาคส่วนของสังคมเกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนตามที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ
               แห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายไทย และพันธกรณีหลักด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตาม



                ยุทธศ�สตร์ที่ ๒


               เน้นการด�าเนินงานที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของภาครัฐและภาคเอกชน โดยการขับเคลื่อน
               และผลักดันอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน


                ยุทธศ�สตร์ที่ ๓


               มุ่งการท�างานร่วมกับเครือข่ายภายในประเทศและพันธมิตรในเวทีระหว่างประเทศเพื่อให้เกิดการสร้างพลัง
               (synergy) ในการท�างานร่วมกัน



                ยุทธศ�สตร์ที่ ๔


               ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชน สื่อสารเกี่ยวกับสถานการณ์
               ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย รวมทั้งผลงานส�าคัญของ กสม. ต่อสาธารณชนอย่างถูกต้องและทั่วถึง



                ยุทธศ�สตร์ที่ ๕


               เสริมสร้างและพัฒนากระบวนการท�างานและการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดผลสัมฤทธิ์โดยยึดมั่นคุณธรรม
               และความโปร่งใส



       38
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45