Page 42 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 42
๑.๕ เหตุก�รณ์และผลง�นสำ�คัญในก�ร ท�าหน้าที่ในส่วนของผู้ตรวจการแผ่นดินด้วย และการ
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ควบรวมองค์กรดังกล่าวมีผลกระทบต่อสถานะขององค์กร
ที่จะท�าหน้าที่เป็นสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามหลัก
ในระหว่างปลายปี ๒๕๕๘ ถึงต้นปี ๒๕๖๔ กสม. การปารีสเกี่ยวกับสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชน
ชุดที่ ๓ ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของงานสิทธิมนุษยชน แห่งชาติเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
และได้ปฏิบัติหน้าที่โดยมุ่งหมายที่จะส่งเสริมและคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ มีการเฝ้าระวังและติดตาม ต่อมาคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้พิจารณา
เหตุการณ์หรือสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศ และเห็นด้วยที่จะไม่ควบรวม กสม. และผู้ตรวจการแผ่นดิน
อย่างต่อเนื่อง ให้ความส�าคัญกับการประสานหรือแสวงหา แต่บัญญัติให้มีการประเมินผลการด�าเนินงานของ กสม.
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ความร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน และ ทุกห้าปี
ภาคประชาชน ดังมีเหตุการณ์และผลงานส�าคัญ ดังนี้
๒) หน้าที่และอ�านาจของ กสม. เสนอให้มี
๑.๕.๑ การให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อ อ�านาจเช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ในระหว่างการจัดท�าร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ (การเสนอเรื่อง
โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (นายบวรศักดิ์ พร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง
อุวรรณโณ เป็นประธาน) เพื่อเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ และการฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย)
กสม. ชุดที่ ๓ ได้มอบหมายให้ส�านักงาน กสม. แต่งตั้ง
คณะท�างานศึกษาและจัดท�าข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ ๓) หลักการสิทธิมนุษยชนทั่วไปที่ควรบัญญัติไว้
การปฏิรูปประเทศ การยกร่างรัฐธรรมนูญและการจัดท�า ในร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการรับรองและคุ้มครอง
หรือปรับปรุงกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน สิทธิมนุษยชนของประชาชนไทย ให้มีมาตรฐานไม่ต�่ากว่า
ของ กสม. ต่อมา กสม. ชุดที่ ๓ ได้รวบรวมและจัดท�า ที่เคยมีการบัญญัติและรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง
ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ
ไปยังคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณา แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ รวมถึง
ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ หลักสิทธิมนุษยชนสากล
๑) การยุบหรือควบรวมองค์กร กสม. กับผู้ตรวจการ ๔) องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา กสม.
แผ่นดิน มีความเห็นว่า การควบรวมองค์กรดังกล่าว เสนอความเห็นว่า พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ มาตรา ๘
ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ได้บัญญัติองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้สอดคล้องกับ
อย่างมีนัยส�าคัญ เนื่องจากอ�านาจและหน้าที่ของ กสม. หลักการปารีสเกี่ยวกับสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชน
กับผู้ตรวจการแผ่นดินมีความแตกต่างกัน โดย กสม. แห่งชาติเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแล้ว
ท�าหน้าที่ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของ ดังนั้น จึงเห็นควรน�าบทบัญญัติดังกล่าวมาเป็นหลักการ
ประชาชน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ ในการก�าหนดคณะกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชน
ความเสมอภาคที่ได้รับการรับรองและคุ้มครอง ซึ่งเป็น แห่งชาติตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต่อไป
อ�านาจหน้าที่ที่ไม่ซ�้าซ้อนกับองค์กรใดตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ ต่อมาสภาปฏิรูปแห่งชาติในการประชุมเมื่อวันที่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๖ กันยายน ๒๕๕๘ ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าว
การควบรวมองค์กรดังกล่าวจึงมีผลเป็นการสร้างองค์กร ด้วยคะแนน ๑๓๕ ต่อ ๑๐๕ เสียง งดออกเสียง ๗ คน
กลุ่มขึ้นใหม่ที่รวมอ�านาจหน้าที่ของ กสม. ที่มีความ เป็นผลให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นอันตกไป จากนั้น
เชี่ยวชาญเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นการเฉพาะ ให้ไป คสช. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญใหม่
40