Page 45 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 45

กสม. จึงได้มีข้อเสนอในการแก้ไขร่าง พ.ร.ป. กสม.  GANHRI ในการพิจารณาประเมินสถานะของสถาบัน
              มาตรา ๔๔ ดังนี้                                  สิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อไป ซึ่งต่อมาร่าง พ.ร.ป. กสม.    1
                                                               ก็ได้มีการบัญญัติหลักการดังกล่าวไว้ในมาตรา ๓๐ วรรค
                 “มาตรา ๔๔ ในกรณีที่มีการรายงานข้อเท็จจริงที่ไม่  สอง โดยก�าหนดให้กรรมการไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง    2
              ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม หากคณะกรรมการเห็นว่าเป็นเรื่อง  ทางอาญา หรือทางปกครอง เนื่องจากการที่ตนได้ปฏิบัติ
              ที่กระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติและประชาชน  ตามหน้าที่และอ�านาจโดยสุจริตตามพระราชบัญญัติ          3
              คณะกรรมการอาจพิจารณาตรวจสอบเพื่อที่จะชี้แจงและ ประกอบรัฐธรรมนูญนี้

              รายงานข้อเท็จจริงต่อคณะรัฐมนตรี หน่วยงานหรือองค์กร
              ที่เกี่ยวข้องหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนก็ได้”        ๔) อำ�น�จในก�รไกล่เกลี่ย                            4
                                                                  โดยที่ปรากฏตามค�าปรารภของรัฐธรรมนูญแห่ง
              ๓) หลักก�รคุ้มกันคว�มรับผิดในก�รปฏิบัติหน้�ที่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง    5
              ของ กสม.                                         กับองค์กรอิสระว่า “...การให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่น
                 โดยที่ร่าง พ.ร.ป. กสม. ฉบับที่ผ่านการพิจารณาของ ซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อ�านาจรัฐ สามารถปฏิบัติหน้าที่
              คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรม และมีส่วนในการ
              ๒๕๖๐ ไม่ปรากฏเรื่องหลักการคุ้มกันความรับผิดในการ ป้องกันหรือแก้ไขวิกฤติของประเทศตามความจ�าเป็น
              ปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ซึ่งหลักการคุ้มกันความรับผิด และความเหมาะสม การรับรอง ปกป้อง และคุ้มครอง

              ในการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. มีความส�าคัญและจ�าเป็น สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและครอบคลุม
              เพื่อป้องกันมิให้การปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ต้องตกอยู่ อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น... รวมตลอดทั้งการลดเงื่อนไข
              ภายใต้อิทธิพลจากภายนอกหรือจากการถูกข่มขู่ที่จะมี  ความขัดแย้งเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐาน
              การด�าเนินคดีทางกฎหมาย ประการส�าคัญ การคงไว้  ของความรู้รักสามัคคีปรองดอง  การจะด�าเนินการ
              ซึ่งหลักการคุ้มกันความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว  ในเรื่องเหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้ จ�าต้องอาศัยความร่วมมือ
              จะมีผลต่อการประเมินสถานะของ กสม. ตามข้อสังเกต  ระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลาย
              ของคณะอนุกรรมการประเมินสถานะของสถาบัน  ของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลัก

              สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (SCA) ภายใต้คณะกรรมการ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณี
              ประสานงานระหว่างประเทศว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชน  การปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะ
              แห่งชาติ (ICC) ซึ่งปัจจุบัน คือ พันธมิตรสถาบันสิทธิมนุษยชน  สังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลัก
              แห่งชาติระดับโลก (GANHRI) อันเป็นเงื่อนไขข้อหนึ่งที่   ธรรมาภิบาล...” และตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๗    บทนำ�
              กสม. ถูกลดสถานะจาก A เป็น B โดยหากกฎหมาย  (๑) ได้บัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการ
              ไม่บัญญัติหลักเกณฑ์นี้ไว้ กสม. ก็จะไม่มีทางได้สถานะ A  ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
              คืนมา นอกจากนี้ ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย การละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณีโดยไม่ล่าช้า และเสนอ
              ราชทัณฑ์ โดยพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐   แนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกัน
              มาตรา ๓๐ ยังคงได้บัญญัติเกี่ยวกับหลักการคุ้มกัน  หรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยา

              ความรับผิดของเจ้าพนักงานไว้ เช่นเดียวกับพระราชบัญญัติ  ผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙ มาตรา ๒๑ ที่ได้ถูกยกเลิก ต่อหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ
              ไปแล้ว อันแสดงให้เห็นถึงความส�าคัญและความจ�าเป็น ไกล่เกลี่ยนับเป็นการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหาย ดังนั้น
              ของหลักการดังกล่าว                               การก�าหนดหน้าที่และอ�านาจของ กสม. ตามร่าง พ.ร.ป.
                                                               กสม. จึงควรมีความชัดเจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวาง
                 กสม. จึงได้มีข้อเสนอในการแก้ไขเพิ่มเติมร่าง พ.ร.ป.  รวมทั้งมีส่วนช่วยลดเงื่อนไขความขัดแย้งเพื่อให้ประเทศ
              กสม. โดยให้ก�าหนดหลักในเรื่องการคุ้มกันความรับผิด มีความสงบสุขตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญข้างต้น

              ของ กสม. ไว้ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อเสนอของ





                                                                                                                 43
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50