Page 48 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 48
เป็นเวลา ๑๘ เดือน ซึ่ง กสม. ได้รับแจ้งว่า เป็นผลที่ดี อย่างเข้มงวดเพื่อให้แน่ใจว่าหน่วยงานของรัฐได้รับทราบ
มากส�าหรับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ขอปรับเลื่อน และด�าเนินการตามข้อเสนอแนะของ กสม. (๔) อ�านาจ
สถานะ เนื่องจากจะได้มีเวลาในการแก้ไขข้อห่วงกังวล หน้าที่กึ่งตุลาการ (Quasi-judicial functions) ของ กสม.
ของ SCA ซึ่งมี ๔ ประเด็น ได้แก่ (๑) ความเป็นอิสระ ในการไกล่เกลี่ย ซึ่ง SCA มีความเห็นว่า หาก กสม.
(Independence) SCA มีความกังวลว่า หน้าที่และอ�านาจ สามารถแสวงหาข้อยุติที่เป็นมิตรและเป็นความลับ
ตามบทบัญญัติมาตรา ๒๔๗ (๔) ของรัฐธรรมนูญแห่ง ผ่านกระบวนการแก้ไขทางเลือกอื่น ซึ่งรวมถึงอ�านาจ
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่ก�าหนดให้ กสม. ในการแสวงหาข้อยุติของข้อพิพาทโดยสมานฉันท์ผ่าน
ต้องชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้า กระบวนการไกล่เกลี่ย จะช่วยให้ กสม. ได้ช่วยเหลือ
ในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน เยียวยาผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนได้รวดเร็วมากขึ้น
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม ซึ่งไม่เคย ซึ่งหมายถึงการเพิ่มประสิทธิผลในการด�าเนินงานของ
ปรากฏว่ามีสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติใดที่กฎหมาย กสม. SCA จึงเสนอแนะให้ กสม. ผลักดันให้มีการขยาย
ก�าหนดให้มีหน้าที่ในลักษณะดังกล่าว และบทบัญญัติ หน้าที่และอ�านาจในการจัดการเรื่องร้องเรียนให้รวมถึง
ดังกล่าวจะลดทอนความเป็นอิสระที่แท้จริงหรือ อ�านาจในการแสวงหาข้อยุติของข้อพิพาทโดยสมานฉันท์
ที่สาธารณะรับรู้ (actual or perceived independence) ผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ย
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
SCA เสนอแนะให้ กสม. ด�าเนินการสนับสนุนให้มีการ
ยกเลิกบทบัญญัตินี้ต่อไป (๒) การสรรหาและแต่งตั้ง ขณะนี้ กสม. ได้ด�าเนินการประสานกับฝ่ายนิติบัญญัติ
(Selection and appointment) SCA เห็นว่าการแต่ง และฝ่ายบริหารในระดับต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนให้มี
ตั้ง กสม. ชุดใหม่ตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ยังด�าเนินการ การยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๒๔๗ (๔) ของรัฐธรรมนูญ
ไม่แล้วเสร็จและส่งผลให้มีช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ที่ กสม. แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมาตรา
ไม่สามารถลงมติเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนได้เนื่องจาก ๒๖ (๔) แห่ง พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ และการเพิ่มเติมหน้าที่
มีจ�านวนไม่เพียงพอที่จะเป็นองค์ประชุมได้ ซึ่ง SCA เสนอ และอ�านาจในการไกล่เกลี่ยใน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ แล้ว
แนะให้ กสม. ผลักดันให้กระบวนการแต่งตั้งเสร็จสมบูรณ์ รวมถึงการออกระเบียบรองรับเพื่อประกันความเป็นอิสระ
ในห้วงเวลาที่เหมาะสมผ่านกระบวนการที่โปร่งใสและ ของ กสม. ให้มีความชัดเจนมากขึ้นในระหว่างที่รอการ
มีส่วนร่วมตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย (๓) ข้อเสนอแนะ แก้ไขรัฐธรรมนูญ
ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (Recommendations
by NHRIs) ซึ่ง SCA ได้กล่าวถึงข้อกังวลที่ผ่านมาเกี่ยวกับ ๑.๕.๔ ความร่วมมือกันระหว่างองค์กรอิสระ
ประสิทธิผลของ กสม. ในการจัดการกับประเด็นปัญหา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ด้านสิทธิมนุษยชนภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดย SCA พุทธศักราช ๒๕๖๐
เสนอแนะให้ กสม. ขยายขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาตรา ๒๑๙ บัญญัติให้ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ
การติดตามเฝ้าระวัง (monitoring) เรื่องการเคารพ ร่วมกันก�าหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาล
สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและการคุ้มครองนักปกป้อง รัฐธรรมนูญ และผู้ด�ารงต�าแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้ง
สิทธิมนุษยชนในบริบทดังกล่าว มีการใช้อ�านาจหน้าที่ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและหัวหน้าหน่วยงานธุรการ
อย่างเต็มที่ รวมถึงการออกข้อเสนอแนะที่สอดคล้อง ของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ ในการด�าเนินการ
กับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ แถลงการณ์ เรื่องนี้ กสม. และส�านักงาน กสม. ได้ให้ความร่วมมือ
และรายงานทั้งหมดควรเปิดเผยต่อสาธารณะ เนื่องจาก อย่างต่อเนื่อง โดยได้ศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จะเป็นการสนับสนุนความน่าเชื่อถือและความเป็นอิสระ เข้าร่วมการประชุม/ปรึกษาหารืออย่างสม�่าเสมอตามที่
ของ กสม. รวมทั้งส่งเสริมการเข้าถึงของประชาชาชน ศาลรัฐธรรมนูญประสานงาน ร่วมให้ความเห็นในการ
ทุกคนภายในประเทศ ตลอดจนด�าเนินการติดตามผล จัดท�าร่างมาตรฐานทางจริยธรรมฯ รวมทั้งให้ความเห็น
46